กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4167
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | จิตตาภา สารพัดนึก ไชยปัญญา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-06-16T03:52:06Z | |
dc.date.available | 2021-06-16T03:52:06Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4167 | |
dc.description.abstract | บทความเรื่องชนิดของสมาสสันสกฤตที่ปรากฏในภาษาไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอชนิดของสมาสสันสกฤตที่ปรากฏในภาษาไทย โดยใช้เกณฑ์การสมาสของภาษาสันสกฤตในการพิจารณาคำสมาสในภาษาไทย ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าสมาสสันสกฤตที่ปรากฏในภาษาไทยมี 6 ชนิด ได้แก่ ตัตปุรุษสมาส กรรมธารยสมาส พหุวรีหิสมาส ทวิคุสมาส ทวันทวสมาส และอัพยยีภาวสมาส นอกจากนี้ยังพบสมาสย่อยของ ตัตปุรุษสมาส 3 ชนิด คือ วิภักติตัตปุรุษสมาส นัญตัตปุรุษสมาส และอุปปทสมาส สมาสย่อยของกรรมธารยสมาส 4 ชนิด ได้แก่ วิเศษณปูรวปทสมาส วิเศษยปูรวปทสมาส อุปมาโนตตรปทสมาส และ อวธารณาปูรวปทสมาส และพบสมาสย่อยของอัพยยีภาวสมาส 1 ชนิด คือ อัพยยปูรวปทสมาส ชนิดของสมาสสันสกฤตเหล่านี้แสดงให้เห็นว่า ภาษาสันสกฤตมีอิทธิพลต่อภาษาไทยไม่ใช่มีแต่เพียงด้านคำ ด้านอักขรวิธี หรืออิทธิพล ด้านสำนวนภาษาและการผูกประโยคเท่านั้น แต่การสร้างคำโดยเฉพาะการสร้างคำโดยวิธีสมาสก็เป็นอิทธิพลที่ภาษาสันสกฤตมีต่อภาษาไทยเช่นกัน | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | คำสมาส | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย | th_TH |
dc.subject | ภาษาสันสกฤต | th_TH |
dc.subject | สาขาปรัชญา | th_TH |
dc.title | ชนิดของสมาสสันสกฤตที่ปรากฏในภาษาไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Types of Sanskrit Samāsa appearing in Thai language | en |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 2 | th_TH |
dc.volume | 28 | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This article explored types of Sanskrit Samāsa (compound) appearing in Thai Language. The objective was to apply criterion of Sanskrit Samāsa to determine Thai Samāsa words. It can be concluded that there are six types of Sanskrit Samāsa appearing in Thai Language, namely Tatpurua-Samāsa, Karmadhāraya-Samāsa, Bahuvrhi-Samāsa, Dvigu-Samāsa, Dvandva-Samāsa, and Avyaybhāva-Samāsa. In addition, three subordinate types of Tatpurua-Samāsa are founded, namely, Vibhakti-Tatpurua-Samāsa, Nañ-Tatpurua-Samāsa and UpapadaTatpurua-Samāsa. Also, this study found four subordinate types of Karmadhāraya-Samāsa: Vieṇapūrvapada-Samāsa, VieyapūrvapadaSamāsa, Upam nottarapada-Samāsa, and AvadhāraṇāpūrvapadaSamāsa. Moreover, one subordinate type of Avyay bhāva-Samāsa is also identified, i.e. Avyayapūrvapada-Samāsa. These types of Sanskrit Samāsa present that an influence of Sanskrit on Thai language is not only on words, orthography, idioms and structure of sentences but also on word formation. Therefore, Thai word formation, Samāsa formation in particular influences Sanskrit on Thai Language. | en |
dc.journal | วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.page | 342-359. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
huso28n2p342-359.pdf | 607.72 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น