กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4164
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจักรกฤษณ์ นรนิติผดุงการ
dc.contributor.authorวิภาวี พิจิตบันดาล
dc.contributor.authorเอกลักษณ์ ณัถฤทธิ์
dc.contributor.authorสุภรัติ สุขวิสุทธิ์
dc.contributor.authorอิทธิพล เนธิยคุปต์ สิงขรแก้ว
dc.contributor.authorเกริกเกียรติ แก้วมณี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2021-06-15T08:57:18Z
dc.date.available2021-06-15T08:57:18Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4164
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้กำหนดวัตถุประสงค์ไว้ 3 ประการคือ (1) ศึกษาศักยภาพของ การบริหารเมืองพัทยา และสิ่งที่เป็นปัญหาอุปสรรคจากการดำเนินการในปัจจุบัน (2) ศึกษาแนวคิดของผู้มีความรู้และประสบการณ์ และนักอนาคตนิยมในการนำเมืองพัทยาไปสู่ เมืองชั้นนำระดับโลกตามนโยบายประเทศไทย 4.0 (3) ศึกษาแนวทางในการนำเมืองพัทยาไปสู่เมืองชั้นนำระดับโลกตามนโยบายประเทศไทย 4.0 การวิจัยนี้ใช้การศึกษาแบบคาดการณ์อนาคต (Futuristic Forecast) โดยศึกษาจากแหล่งข้อมูลรวม 7 แหล่ง มีทั้งการสังเกตการณ์ การศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ และบุคคลสำคัญในพื้นที่ และการสอบถามผู้ทรงคุณวุฒิระดับชาติ ระดับพื้นที่ และนักวิชาการ ผลการศึกษาพบว่า (1) เมืองพัทยามีความเจริญก้าวหน้ามาได้อย่างมากส่วนหนึ่งเกิดจากการบริหารของภาครัฐ และอีกส่วนหนึ่งเพราะภาคเอกชนมีส่วนสนับสนุนและดำเนินการอย่างมีคุณภาพ ส่งผลให้เมืองพัทยามีความพร้อมมากมายหลายด้าน แต่ยังคงมีจุดอ่อนที่สำคัญ ได้แก่ การบริหารงานยังใช้รูปแบบเดิม กล่าวคือทำตามกำลังที่มี ทำตามแบบแผนที่เมืองอื่น ๆ หรือทางส่วนกลางแนะนำให้ทำ การพัฒนาเมืองจึงทำได้ล่าช้าไม่ทันการณ์สำหรับโลกสมัยใหม่ที่มีการแข่งขันสูง (2) การคาดการณ์อนาคตตามความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิระดับชาติและระดับพื้นที่รวมทั้งฝ่ายวิชาการ เห็นว่าเมืองพัทยายังคงเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับรสนิยมของชาวต่างชาติและชาวไทย แต่เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกมีความรวดเร็ว ดังนั้น การปรับให้เมืองพัทยาเป็นเมือง 4.0 ตามที่นักคิดและนักวิชาการกลุ่มนี้ได้นำเสนอจึงมีความสำคัญต่อการพัฒนาเมืองพัทยาอย่างยิ่ง (3) เมืองพัทยาจำเป็นต้องปรับปรุงวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ให้ครอบคลุม รวมทั้งใช้กรอบความคิดใหม่ ๆ ในการพัฒนาเมือง โดยมีโครงการนำ (The Flagship Projects) ที่จะมีส่วนผลักดันให้เมืองพัทยาเป็นเมือง 4.0 จำนวน 9 โครงการth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการพัฒนาเมือง -- ไทย -- พัทยา (ชลบุรี)th_TH
dc.subjectการพัฒนาประเทศ -- ไทย -- พัทยา (ชลบุรี)th_TH
dc.subjectสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์th_TH
dc.titleพัทยา 4.0: การค้นหานวัตกรรมเชิงยุทธศาสตร์และการบริหารการพัฒนา เพื่อผลักดันให้เป็นเมืองชั้นนำระดับโลกth_TH
dc.title.alternativePattaya 4.0: A search for innovative strategies and development administration theory to make it a world-class tourist destinyen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue1th_TH
dc.volume9th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research had three objectives which were: (1) to study the potentialities of Pattaya City administration and what were the problems and obstacles from the present operation; (2) to study the concepts of knowledgeable and experienced persons and futurists in bring Pattaya City to a world-class city according to Thailand 4.0 policy; and (3) to study guidelines to bring Pattaya City to a world-class city to Thailand 4.0 policy This research used the Futuristic Forecast by studying from 7 data sources including observation, document study, interview with staff and important people in the area, inquiry of national and regional experts and academics. The results of the study found that: (1) Pattaya City has made great progress, the first was caused by the administration of the government and another because the private sector has contributed implemented quality, therefore resulting in Pattaya City being well-prepared in many ways, but still has an important weakness, namely, the administration still used the old style, which was to act according to the capacity, to act according to the pattern of other cities or central has recommended to de, so urban development was slow and not timely for the modern world that highly competitive; (2) Forecasts of the future according to the opinion of national and regional experts, including academics, there were comments that Pattaya City was still a tourist destination that matched the taste of foreigners and Thais, however, due to rapid internal and external changes, it was important to adapt Pattaya City to Pattaya 4.0 as the presentations of thinkers and scholars of this group were very important to Pattaya City development; and (3) Pattaya City needed to improve its vision and strategy to cover all aspects, including using new conceptual framework for urban development, by 9 flagship projects which will drive Pattaya City to be Pattaya 4.0.en
dc.journalวารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมืองth_TH
dc.page64-83.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
64-83.pdf486.06 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น