กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4152
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิภาดา ตรงเที่ยง | |
dc.contributor.author | ยุพิน ถนัดวณิชย์ | |
dc.contributor.author | วัลภา คุณทรงเกียรติ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-06-15T03:49:13Z | |
dc.date.available | 2021-06-15T03:49:13Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4152 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยในผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็งที่อยู่ระหว่างได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด และมาพบแพทย์เพื่อรับยาเคมีบำบัดตามนัดที่หอผู้ป่วยเคมีบำบัด โรงพยาบาลราชบุรี ได้มาด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย จำนวน 85 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดความรุนแรงของความเจ็บป่วยตามการรับรู้ของผู้ป่วยแบบประเมินความหวังของเฮิร์ท แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม แบบสอบถามความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย ของมิเชล และแบบประเมินภาวะซึมเศร้า วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ภาวะซึมเศร้า การรับรู้ความรุนแรงของความเจ็บป่วย และการสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยในผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดได้ร้อยละ 18.6 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากผลการศึกษาครั้งนี้เสนอแนะว่า พยาบาลควรพัฒนาการพยาบาลที่ช่วยลดการจัดการความรุนแรงของความเจ็บป่วย จัดการกับภาวะซึมเศร้า และความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยของผู้ป่วย ในขณะเดียวกันพยาบาลควรต้องส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการสนับสนุนทางสังคมที่ดีให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัวเพื่อลดความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยในผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ความเจ็บป่วย | th_TH |
dc.subject | มะเร็ง -- ผู้ป่วย | th_TH |
dc.subject | มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- สุขภาพจิต | th_TH |
dc.subject | โรคซึมเศร้า | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยในผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด | th_TH |
dc.title.alternative | Factors influencing uncertainty in illness among patients with cancer undergoing chemotherapy | en |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 4 | th_TH |
dc.volume | 28 | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to examine factors influencing uncertainty in illness among patients with cancer undergoing chemotherapy. The 85 subjects were selected by simple random sampling from patients with cancer being treated with chemotherapy and their doctors at the chemotherapy appointment ward at Ratchaburi Hospital. All subjects met inclusion criteria. The research instruments consisted of the Illness Perception Questionnaire, the Herth Hope Index, the Social Support Questionnaire, the Mishel Uncertainty in Illness Scale, and a Depression Scale. The data were analyzed using multiple regression. The results show that perceived severity of illness and social support predicted 18.6% of the variance in uncertainty in illness in the patients with cancer who were treated with chemotherapy, a statistically significant finding (R2 = .186, p < .05). The results suggest that professional nurses develop nursing care to decrease high perceived severity regarding the illness, and to relieve or eliminate depression and uncertainty among these patients. Additionally, nurses should encourage patients to ensure social support sufficient to meet their and their families’ needs in order to reduce uncertainty about illness in patients with cancer receiving chemotherapy. | en |
dc.journal | วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.page | 25-37. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
nus28n4p25-37.pdf | 221.66 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น