กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4151
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorณชนก เอียดสุย
dc.contributor.authorวริษา กันบัวลา
dc.contributor.authorสมจิตต์ จันทร์กูล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2021-06-15T03:42:57Z
dc.date.available2021-06-15T03:42:57Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4151
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการอาการภายหลังสมองได้รับการกระทบกระเทือนต่อความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะระดับเล็กน้อย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะระดับเล็กน้อย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง จำนวนกลุ่มละ 36 คน โดยให้มีลักษณะคล้ายคลึงกันในด้านเพศ อายุ และระดับการศึกษา กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ส่วนกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการอาการภายหลังสมองได้รับการกระทบกระเทือน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป และแบบสัมภาษณ์ติดตามความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สถิติทดสอบค่าที และสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่หลังจากได้รับโปรแกรมการจัดการอาการฯ ในวันที่ 7 และวันที่ 14 สูงกว่าก่อนทดลอง และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการจัดการอาการภายหลังสมองได้รับการกระทบกระเทือนสามารถช่วยให้ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะระดับเล็กน้อยมีความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ได้ พยาบาลสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อช่วยส่งเสริมความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะระดับเล็กน้อยหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectศีรษะบาดเจ็บth_TH
dc.subjectสมอง -- ความผิดปกติth_TH
dc.subjectอาการ (โรค)th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleผลของโปรแกรมการจัดการอาการภายหลังสมองได้รับการกระทบกระเทือนต่อความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะระดับเล็กน้อยth_TH
dc.title.alternativeThe effect of a post-concussion symptoms management program on functional performance in patients with mild traumatic brain injuryen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue4th_TH
dc.volume28th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental research aimed to study the effect of a post-concussion symptoms management program on functional performance in patients with mild traumatic brain injury. The sample was 72 mild traumatic brain injury patients, who were equally assigned into experimental control groups matched for gender, age and level of education. The control group received usual nursing care while the experimental group received the post-concussion symptoms management program. Data collection tools were a demographic record form and the functional performance interview form. Descriptive statistics, independent sample t-tests and repeated measures ANOVA were used to analyze the data. The results revealed that patients in the experimental group had significantly higher functional performance 7 and 14 days after receiving the post-concussion symptoms management program, and higher performance than did the control group (p < .05). These results demonstrate that the post-concussion symptoms management program can increase functional performance in patients with mild traumatic brain injury. Nurses can apply this program to support patients with mild traumatic brain injury after being discharged from the hospital.en
dc.journalวารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page49-62.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
nus28n4p49-62.pdf254.69 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น