กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4149
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorYangdon, Kinley
dc.contributor.authorKhemaradee Masingboon
dc.contributor.authorNiphawan Samartkit
dc.date.accessioned2021-06-15T01:47:14Z
dc.date.available2021-06-15T01:47:14Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4149
dc.description.abstractประเทศภูฏานมีจำนวนผู้เป็นเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้เพิ่มขึ้นอย่างมาก ในขณะที่ข้อมูลการจัดการตนเองของผู้เป็นเบาหวานกลุ่มนี้มีจำกัด การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการตนเองและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการตนเองของชาวภูฏานที่ป็นเบาหวานชนิดที่ 2 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มอย่างง่าย ได้ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 105 ราย ที่มารับการรักษาที่คลินิกเบาหวาน ณ Jigme Dorji Wangchuck National Referral Hospital, Bhutan เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามการจัดการตนเองของผู้เป็นเบาหวาน แบบสอบถามความรอบรู้ทางสุขภาพ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม และแบบวัดความทุกข์จากเบาหวาน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยการจัดการตนเองเท่ากับ 7.6 (SD = 1.03) ปัจจัย การรับรู้สมรรถนะแห่งตน ความรอบรู้ด้านสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม และ ความทุกข์จากเบาหวาน ร่วมกันทำนายการจัดการตนเองของผู้เป็นเบาหวานได้ร้อยละ 17.6 โดยการรับรู้สมรรถนะแห่งตนเป็นปัจจัยเดียวที่สามารถทำนายการจัดการตนเองได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .277, p = .015) ผลการศึกษาครั้งนี้ ใช้เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์สำหรับบุคลากรทางสุขภาพในการพัฒนาโปรแกรมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนเพื่อส่งเสริมการจัดการตนเองในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2th_TH
dc.language.isoenth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectSelf-management (Psychology)en
dc.subjectDiabetesen
dc.subjectDiabetics -- Bhutanen
dc.titleFactors influencing diabetes self-management among Bhutanese people with type 2 diabetes mellitusen
dc.title.alternativeปัจจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการตนเองของผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ประเทศภูฏานth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue4th_TH
dc.volume28th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeStudies of Bhutanese people with type 2 diabetes mellitus (T2DM) show alarmingly high rates of uncontrolled DM, yet the practice of diabetes self-management is limited. The aim of the study was to examine diabetes self-management and its influencing factors among Bhutanese people with T2DM. Simple random sampling was used to recruit 105 people with T2DM who visited the diabetes clinic at Jigme Dorji Wangchuck National Referral Hospital. Research instruments included a demographic data questionnaire, the diabetes self-management questionnaire, the diabetes management self-efficacy questionnaire, the health literacy questionnaire, the chronic illness resources survey, and the diabetes distress scale. Data were analysed by descriptive statistics and standard multiple linear regression. Results showed that participants’ mean score of diabetes self-management was 7.76 (SD = 1.03). Standard multiple linear regression analysis results indicated that self-efficacy, health literacy, social support, and diabetes distress explained 17.16% of the variance in participants’ diabetes self-management. However, only self-efficacy significantly predicted diabetes self-management (β = .277, p = .015). The findings provide evidence for health care providers to develop an intervention program focusing on improving self-efficacy in order to promote diabetes self-management activities among Bhutanese people with T2DM.en
dc.journalวารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page75-86.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
nus28n4p75-86.pdf154.38 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น