กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4130
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพัชรี สังข์สี
dc.contributor.authorยุพิน ถนัดวณิชย์
dc.contributor.authorวัลภา คุณทรงเกียรติ
dc.contributor.authorสายฝน ม่วงคุ้ม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2021-06-14T03:04:26Z
dc.date.available2021-06-14T03:04:26Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4130
dc.description.abstractผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ไม่สามารถตัดสินใจเลือกวิธีบำบัดทดแทนไตที่เหมาะสมกับบริบทของตนเองได้ ทำให้มีความไม่ต่อเนื่องในการรักษา การศึกษาครั้งนี้เป็นแบบเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกวิธีบำบัดทดแทนไตของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยจากอายุรแพทย์โรคไตว่าเป็นโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายและจำเป็นต้องรักษาด้วยการบำบัดทดแทนไต จำนวน 82 ราย คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความหวังต่อการบำบัดทดแทนไต แบบประเมินความชอบต่อวิธีบำบัดทดแทนไต แบบประเมินความสามารถในการเข้ารับบริการบำบัดทดแทนไต แบบประเมินทัศนคติของผู้ป่วยต่อการบำบัดทดแทนไต และแบบประเมินการตัดสินใจเลือกวิธีบำบัดทดแทนไต วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายมีการตัดสินใจเลือกวิธีบำบัดทดแทนไตอยู่ระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 40.59, SD = 2.02) และพบว่า ความหวังต่อการบำบัดทดแทนไต ความชอบต่อวิธีบำบัดทดแทนไตและความสามารถในการเข้ารับบริการบำบัดทดแทนไตมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกวิธีบำบัดทดแทนไตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .32, r = .29, r = .34, p < .01) ส่วนทัศนคติของผู้ป่วยต่อการบำบัดทดแทนไตไม่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกวิธีบำบัดทดแทนไต (r = -.01, p > .05) ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกวิธีบำบัดทดแทนไตด้วยตนเอง พยาบาลวิชาชีพและบุคลากรด้านสุขภาพควรมีการสนับสนุนความรู้เกี่ยวกับการเจ็บป่วยและวิธีบำบัดทดแทนไตเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดี และมีความชอบต่อวิธีบำบัดทดแทนไตที่ตนเองเลือก และสุดท้าย ต้องส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความหวังในการดำเนินชีวิตแม้ว่าต้องเข้ารับการรักษาด้วยวิธีบำบัดทดแทนไตth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectไตวายเรื้อรังth_TH
dc.subjectไต -- โรค -- การรักษาth_TH
dc.subjectการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมth_TH
dc.subjectการล้างไตทางช่องท้องth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกวิธีบำบัดทดแทนไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายth_TH
dc.title.alternativeFactors related to self-determination to select dialysis modalities in patients with end-stage renal diseasesen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue3th_TH
dc.volume28th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeMost patients with end-stage renal diseases (ESRD) cannot select the most appropriate dialysis modality, which can then lead to not being able to continue dialysis. This correlational descriptive study aimed to examine factors on ability to select dialysis modalities. The sample was 82 randomly-selected subjects who had been diagnosed by nephrologists with end-stage renal diseases and had to be treated with renal replacement therapies. Data-collection instruments included a personal data record form and questionnaires: hope regarding dialysis modalities, preference of dialysis modalities, accessibility to dialysis service, attitude toward dialysis modalities, and an intrinsic motivation inventory. The data were analyzed via descriptive statistics and Pearson’s product moment correlation coefficients. The results showed that most ESRD patients had a high level of ability to self-select appropriate dialysis modalities (x̄ = 40.59, SD = 2.02), and that hope, preference, and accessibility factors were significantly related to ability to self-select appropriate dialysis modalities (r = .32, r = .29, r = .34, p < .01 respectively). There was no association between patient’s attitude toward dialysis modalities and ability to self-determine dialysis modalities (r = -.01, p >.05). Professional nurses and other healthcare personnel should support ESRD patients acquiring knowledge relating to their illness and renal replacement therapy options. This will enhance understanding, positive attitudes, and preference for the renal replacement therapies selected, and will promote hope for high quality of life even though their survival depends on renal replacement therapyen
dc.journalวารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page53-65.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
nus28n3p53-65.pdf224.06 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น