กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4086
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชวนวล คณานุกูล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-05-24T02:38:19Z | |
dc.date.available | 2021-05-24T02:38:19Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4086 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคสายกรีน (ความตั้งใจและพฤติกรรมการซื้อ) ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้สึกผิดของผู้บริโภค ความภูมิใจของผู้บริโภค และการรับรู้การมีประสิทธิผลของผู้บริโภค เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริโภคสายกรีนจำนวน 297 คน โดยใช้การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า ความรู้สึกผิดของผู้บริโภค และความภูมิใจของผู้บริโภคส่งผลต่อการรับรู้การมีประสิทธิผลของผู้บริโภค (γ11 = 0.498, t = 5.745, p < .001; γ12 = 0.844 , t = 3.327, p < .01) การรับรู้การมีประสิทธิผลของผู้บริโภคส่งผลต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์สีเขียว (β21 = 0.395, t = 5.224, p <.001) และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์สีเขียวส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อ(β32 = 0.718, t= 11.872, p < .001) | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การรับรู้ | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค -- แง่สิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.subject | สาขาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.title | อิทธิพลของอารมณ์จากมโนสำนึกและการรับรู้ การมีประสิทธิผลของผู้บริโภคต่อพฤติกรรมการบริโภคสายกรีน | th_TH |
dc.title.alternative | The impact of self-conscious emotions and perceived consumer effectiveness on green consumption | en |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 3 | th_TH |
dc.volume | 28 | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aims to explore the factors influencing green consumption (e.g., green purchase intention and green purchasing behavior) namely: consumer guilt, consumer pride, and perception on consumer’s effectiveness. The online surveys were administered to green consumers. A total of 297 usable responses were analyzed using Structural Equation Modeling (SEM). The finding indicated that consumer guilt (γ11 = 0.498, t = 5.745, p < .001) and consumer pride (γ12 = 0.844, t = 3.327, p < .01) significantly influenced perception on consumer’s effectiveness whereas perception on consumer’s effectiveness significantly influenced green purchase intention (β21 = 0.395, t = 5.224, p < .001). In addition, green purchase intention significantly influenced green purchasing behavior (β32 = 0.718, t = 11.872, p < .001). | en |
dc.journal | วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | th_TH |
dc.page | 22-43. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
huso28n3p22-43.pdf | 649.53 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น