กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4053
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกรรณิการ์ วรรณทวี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์
dc.date.accessioned2021-04-26T13:43:22Z
dc.date.available2021-04-26T13:43:22Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4053
dc.descriptionโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุและปัจจัยความต้องการใช้น้ำในครัวเรือนพื้นที่ชนบทจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของแต่ละปัจจัยความต้องการใช้น้ำในครัวเรือนพื้นที่ชนบทจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง และ เพื่อศึกษาพื้นที่ต้องการใช้น้ำในครัวเรือนพื้นที่ชนบทจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษามีข้อมูลเชิงพื้นที่และ ข้อมูลเชิงบรรยายโดยกำหนดปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน ปัจจัยโครงสร้างเศรษฐกิจ รวมถึงโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โปรแกรม ArcGIS ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำแผนที่ (Map Layout) เพื่อจำแนกระดับความต้องการน้ำและโปรแกรมวิเคราะห์เชิงสถิติ SPSS เพื่อศึกษาความสัมพันธ์แต่ละปัจจัย ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐานของพื้นที่ชนบทจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 55.75 อายุ 31-40 ปี คิดเป็นร้อยละ 48.51 ระดับการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น/ตอนปลาย/เทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ 55.63 และมีอาชีพ เกษตรกรคิดเป็นร้อยละ 43.5 2. ปัจจัยโครงสร้างเศรษฐกิจของพื้นที่ชนบทจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง พบว่าส่วนใหญ่มีขนาดครัวเรือนขนาดเล็ก (1-4 คน) คิดเป็นร้อยละ 75.83 มีจำนวนแท็งก์น้ำ 1 ลูก คิดเป็นร้อยละ 57.25 มีฝักบัว คิดเป็นร้อยละ 68.75 มีจำนวนห้องสุขา (1-2 ห้อง) คิดเป็นร้อยละ 93.74 มีก๊อกสนามคิดเป็นร้อยละ 77.42 และปริมาณการใช้น้ำ 800 ลิตร คิดเป็นร้อยละ 75.75 3. ความสัมพันธ์แต่ละปัจจัยพื้นที่ชนบทจังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวนห้องสุขา (𝑥1) เป็นตัวแปรอิสระที่สามารถนำมาพยากรณ์ปริมาณการใช้น้ำได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ (0.05) โดยมีสมการการทำนาย คือ 𝑦 = 384.615 + 340.641𝑥1 ซึ่งมีค่าความสัมพันธ์เท่ากับ 0.388 และความสัมพันธ์แต่ละปัจจัยพื้นที่ชนบทจังหวัดชลบุรี จำนวนสุขา (𝑥1) เป็นตัวแปรอิสระที่สามารถนำมาพยากรณ์ปริมาณการใช้น้ำได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ (0.05) โดยมีสมการการทำนาย คือ 𝑦 = 0.245 + 1.003𝑥1 ซึ่งมีค่าความสัมพันธ์เท่ากับ 0.365 อีกทั้งความสัมพันธ์แต่ละปัจจัยพื้นที่ชนบทจังหวัดระยอง จำนวนสุขา (𝑥1) และ ฝักบัว (𝑥2) เป็นตัวแปรอิสระที่สามารถนำมา พยากรณ์ปริมาณการใช้น้ำได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ (0.05) โดยมีสมการการทำนาย คือ 𝑦 = 0.075 + 1.382𝑥1 + (−0.157)𝑥2 ซึ่งมีค่าความสัมพันธ์เท่ากับ 0.524 และ 0.184 4. พื้นที่ชนบทจังหวัดฉะเชิงเทรา ส่วนใหญ่มีพื้นที่ความต้องการน้ำน้อย พบว่าบริเวณ 11 คิดเป็นร้อยละ 77.67 และพื้นที่ชนบทจังหวัดระยอง ส่วนใหญ่มีพื้นที่ต้องการน้ำมาก พบบริเวณอำเภอแกลง อำเภอเขาชะเมาและอำเภอบ้านค่าย คิดเป็นร้อยละ 52.48 อีกทั้งพื้นที่ชนบทจังหวัดชลบุรี ส่วนใหญ่มีพื้นที่ต้องการน้ำมาก พบว่าบริเวณอำเภอบ่อทอง อำเภอบ้านบึงและอำเภอหนองใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 50"th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectภูมิสารสนเทศศาสตร์th_TH
dc.subjectเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศth_TH
dc.subjectสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleโครงการการประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อพัฒนาระบบสนับสนุน การตัดสินใจเชิงพื้นที่สำหรับวิเคราะห์พื้นที่ต้องการน้ำในพื้นที่ชนบทของพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeThe Application of Geo-Informatics Technology to Develop Spatial Decision Support System for Water Demand Spacious Analyzing Areas: A case Study of the Rural in the Special Economic Eastern Regionen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailmodskyrain@gmail.comth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the causes and factors of water demand in households in rural areas, Chachoengsao, Chonburi, Rayong, (2) to study the relationship of each factor of water demand in the household in rural areas, Chachoengsao, Chon Buri, Rayong and (3) to study the water needs in the households in The data used in the study contained spatial and descriptive data, determining the infrastructure factors. Economic structural factors Including GIS program, ArcGIS program uses data analysis and mapping (Map Layout) to classify water demand level and SPSS statistical analysis program to study each factor relationship. The results show that 1. Infrastructure factors of rural areas, Chachoengsao, Chon Buri, Rayong Province, the majority of respondents were 55.75% male, age 31-40 years, or 48.51%. Accounted for 55.63 percent and occupation of farmers accounted for 43.5 percent. 2. Economic structural factors of rural areas, Chachoengsao, Chon Buri, Rayong, found that most of them had small household sizes (1-4 people), accounting for 75.83 percent, with one water tank, 57.25 percent, with showers, 68.75 percent. The number of toilets (1-2 rooms) accounted for 93.74 percent, with taps, 77.42 percent, and water consumption of 800 liters, or 75.75 percent. 3. Relationship of each factor in rural area, Chachoengsao Province The number of toilets (x1) was an independent variable that could be used to predict water consumption statistically at the level of (0.05) with the prediction equation The relationship between each factor in rural area, Chonburi Province, the number of toilets (x1) was an independent variable that could be used to predict water consumption significantly at the level of (0.05), with the prediction equation y = 0.245 + 1.003x1. Which has a relative value of 0.365. Moreover, the relationship between each factor in rural area, Rayong Province, the number of toilets (x1) and showers (x2) were independent variables that could be used to predict water consumption significantly at the level (0.05). Is y = 0.075 + 1.382x1 + (- 0.157) x2. Which has a correlation of 0.524 and 0.184 4. Rural areas, Chachoengsao Province Most of them have less water demand areas, found that in 11 areas, accounting for 77.67 percent, and rural areas in Rayong Province. Most of them have areas that need a lot of water. Found in Klaeng District Khao Chamao and Ban Khai districts Accounted for 52.48 percent, and in rural areas, Chonburi Province Most of them have areas that need a lot of water. Found that in Bo Thong District Ban Bueng and Nong Yai districts Accounted for 50 percent.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_222.pdf7.19 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น