กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4031
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | พิมพ์ทอง ทองนพคุณ | |
dc.contributor.author | คเณศ วงษ์ระวี | |
dc.contributor.author | เมธินี จามกระโทก | |
dc.contributor.author | ปริญญา ชินดุษฏีกุล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะอัญมณี | |
dc.date.accessioned | 2021-04-13T08:05:29Z | |
dc.date.available | 2021-04-13T08:05:29Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4031 | |
dc.description | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | แทนซาไนท์ คือ อัญมณีที่มีชื่อเสียงมากชนิดหนึ่งในการค้าอัญมณี แทนซานท์มีสีน้ำเงินม่วงที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เป็นพลอยชนิดซอยไซท์ ประเภทแคลเซียมอะลูมิเนียมไฮดรอกโซโรซิลิเกตในกลุ่มอิพิโดท เนื่องจากแทนซาไนท์มีสีสวยและหายากในธรรมชาติ ดังนั้นแทนซาไนท์ส่วนใหญ่ที่พบในการค้าอัญมณีจะมาจากการปรับปรุงคุณภาพด้วยความร้อนหรือการเผามาจากซอยไซท์เพื่อปรับปรุงสีให้ได้สีน้ำเงินถึงม่วง ณ เวลานี การปรับปรุงคุณภาพด้วยความร้อนในซอยไซท์และแทนซาไนท์ยังไม่สามารถตรวจพบได้ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี คือการจำแนกซอยไซท์ที่มาจากการเผาให้ได้สีน้ำเงินกับแทนซาไนท์ธรรมชาติด้วยการวิเคราะห์ลักษณะทางสเปกโทรสโกปีและการวิเคราะห์ด้วยเคโมเมทริกซ์ งานวิจัยนี ทำการปรับปรุงคุณภาพสีของแทนซาไนท์ธรรมชาติและซอยไซท์จากแทนซาเนียด้วยการเผาภายใต้สภาวะบรรยากาศที่อุณหภูมิ 400-700 องศาเซลเซียส สีของตัวอย่างซอยไซท์หลังเผาเปลี่ยนจากสีเหลืองอมน้ำตาลเป็นสีม่วงอมน้ำเงินภายใต้การเผาทุกอุณภูมิ การวิเคราะห์ตัวอย่างทั้งก่อนและหลังเผาจะวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือพื้นฐานในการวิเคราะห์อัญมณีและทำการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสีและความแตกต่างของสีด้วยการวัดสีระบบ CIELAB วิเคราะห์สาเหตุการเปลี่ยนสีและองค์ประกอบทางเคมีด้วยเทคนิคเอกซเรย์ฟลูออเรสเซนส์สเปกโทรสโกปีแบบกระจายพลังงาน ยูวีวิสิเบิลสเปกโทรสโกปี ฟรูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี ฟลูออเรสเซนส์สเปกโทรสโกปี และรามานสเปกโทรสโกปี ผลการเปลี่ยนสีของตัวอย่างและคุณสมบัติของสเปกตรัมเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงคุณภาพสีและการวิเคราะห์ตัวอย่างแทนซาไนท์ที่ผ่านการเผา รามานสเปกตรัมสามารถนำมาใช้ร่วมกับการวิเคราะห์ด้วยเคโมเมทริกซ์ด้วยวิธี PCA ซึ่งให้ข้อมูลที่สัมพันธ์กับองค์ประกอบทางเคมีที่ใช้จำแนกความแตกต่างของซอยไซท์ที่ผ่านการเผาและแทนซาไนท์สีธรรมชาติได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะอัญมณี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี | th_TH |
dc.subject | อัญมณี | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.title | การพิสูจน์เอกลักษณ์พลอยแทนซาไนท์ที่ผ่านการปรับปรุงคุณภาพด้วยความร้อนโดยเคโมเมทริกซ์และเทคนิคสเปกโทรสโกปีเชิงโมเลกุลเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ | th_TH |
dc.title.alternative | Characterizaton of heated tanzanites by chemometrics and molecular spectroscopic techniques for commercial application | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | pimthong@go.buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | kanet.w@chula.ac.th | th_TH |
dc.author.email | matinee@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | parinyac@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2559 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Tanzanite is a very popular jewelry gemstone in gems trade. It is unique blue to violet gem variety of mineral zoisite, a calcium aluminium hydroxysoro silicate belonging to the epoiote group. Due to the beautiful color of tanzanite is rarely natural, nearly all tanzanite is usually has been heat-treated from zoisite to enhance the beautiful blue color in gem trade. At this time, heat treatment in zoisite and tanzanite are not detectable in most cases. The objective of this research aimed at differentiating heated blue zoisite from natural tanzanite by employing both spectroscopic characterization and chemometric analysis. In the research, the color enhancement of natural tanzanite and zoisite from Tanzania was performed by heat treatment in an atmosphere with the heating temperatures at 400-700oC. The color of zoisite samples was changed from brownish yellow to bluish violet color with all heating temperatures. Basic gemological equipment was applied to identify the unheated and heated samples. In order to study the color change of tanzanite after heat treatment, colors and color differences were measured and evaluated using CIELAB color measurement. The cause of color change and chemical behavior of tanzanite were studied by energy-dispersive X-ray fluorescence (EDXRF) spectrometry, UV–visible spectroscopy, Fourier transform infrared spectroscopy, Fluorescence spectroscopy and Raman spectroscopy. The results of color change and spectral properties may be utilized to enhance the satisfactory color and identification of heated tanzanite. Raman spectra were characterized and used for multivariate chemometric analysis by principal component analysis (PCA). Application of PCA to Raman data revealed the pattern and relationship of chemical composition for differentiation of heated blue zoisite from natural tanzanite. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_194.pdf | 6.03 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น