กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4028
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สิทธิภัสร์ เอื้ออภิวัชร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-04-13T05:02:27Z | |
dc.date.available | 2021-04-13T05:02:27Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4028 | |
dc.description | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการสำรวจความเสียหายของอุโมงค์รถไฟที่ผ่านหุบเขาทั้ง 7 แห่งของประเทศไทยได้แก่ อุโมงค์ปางตูบขอบ อุโมงค์เขาพลึง อุโมงค์ห้วยแม่ลาน อุโมงค์ขุนตาน อุโมงค์พระพุทธฉาย อุโมงค์เขาพังเหย และอุโมงค์ช่องเขา การสำรวจความเสียหายใช้หลักการประเมินความเสียหายของฝ่ายบริหาร ขนส่งมวลชนของรัฐแมรี่แลนด์ โดยเป็นการสำรวจความเสียหายด้วยสายตา ความเสียหายหลักที่ได้ทำการสำรวจประกอบไปด้วย การสำรวจการรั่วซึมของน้ำ การแตกร้าวของคอนกรีต และการหลุดร่อนของ คอนกรีต เกณฑ์การประเมินแบ่งออกเป็น 10 ช่วง ตั้งแต่ 0 ถึง 9 โดย 9 หมายถึงโครงสร้างที่ก่อสร้าง เสร็จใหม่ ส่วน 0 หมายถึง โครงสร้างที่อยู่ในสภาพวิกฤต ทำการสำรวจและประเมินความเสียหายของ อุโมงค์ทุกๆ 25 เมตร จากนั้นทำการคำนวณค่าความเสียหายรวมของอุโมงค์ ผลการสำรวจความเสียหายของอุโมงค์เมื่อพิจารณาความเสียหายโดยรวม อุโมงค์ที่เสียหายมาก ที่สุดคือ อุโมงค์เขาพลึง โดยมีค่าความเสียหายอยู่ที่ 4.58 สามารถระบุได้ว่าเป็นอุโมงค์ที่มีสภาพแย่ถึง พอใช้ ตามมาตรฐานของฝ่ายบริหารขนส่งมวลชนของรัฐแมรี่แลนด์ และอุโมงค์ที่เสียหายน้อยที่สุดคือ อุโมงค์เขาพังเหย โดยมีค่าความเสียหายอยู่ที่ 5.84 สามารถระบุได้ว่าเป็นอุโมงค์ที่มีสภาพพอใช้ถึงดี ตามมาตรฐานของฝ่ายบริหารขนส่งมวลชนของรัฐแมรี่แลนด์ ผลจากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้สามารถ นำไปเพื่อเป็นข้อมูลในการสำรวจความเสียหายโดยละเอียดและเพื่อประกอบในการวางแผนปรับปรุง อุโมงค์ให้มีสภาพดีขึ้นในอนาคต | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | อุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดิน | th_TH |
dc.subject | อุโมงค์ | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.title | การประเมินความเสียหายของอุโมงค์รถไฟในประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Assessment of railway tunnels damages in Thailand | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | Sitthiphat@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Railway tunnels damages survey was conducted by visual inspection following Mass Transit Administration of Maryland (MTA) procedures. Seven railway tunnels owned by State Railways of Thailand (SRT) were chosen as a case study. Three major tunnel problems according to MTA (tunnel leaks, cracking, and spalling) were investigated. Tunnel visual inspection were conducted every 25-meters segment. All damages found were recorded their photos were taken during inspection. Each railways tunnel was analyzed to generate the Overall Damage Rating (ODR) to represent railways tunnel condition of each tunnel. The results shown that the worst railway tunnel condition was Khao Phlueng tunnel (ODR 4.58) and based on MTA structural defect rating which can be classified as poor to fair condition. The best railway tunnel condition was Khao Phang Hoei (ODR 5.84) which can be classified as fair to good condition. The approach presented in this paper can be applied for further details damage survey and to prioritize the railway tunnels amendment efficiently | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_191.pdf | 5.28 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น