กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3999
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธิดาพร เชื้อสวัสดิ์
dc.contributor.authorทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2021-01-04T03:36:39Z
dc.date.available2021-01-04T03:36:39Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3999
dc.descriptionงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาวิธีการหาปริมาณมวลรวมหยาบในคอนกรีตที่แข็งตัวแล้วด้วยวิธีทางภาพถ่าย โดยพิจารณาผลกระทบของขนาดมวลรวมใหญ่สุดของมวลรวมหยาบ รูปทรงหน้าตัด ขนาดหน้าตัด อัตราส่วนน้ำต่อปูนซีเมนต์ อัตราส่วนมวลรวมละเอียดต่อมวลรวมทั้งหมด และอายุที่แตกต่างกัน ซึ่งจะทำการศึกษาจากตัวอย่างที่ถูกเตรียมขึ้นในห้องปฏิบัติการ จากผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการทดสอบหาปริมาณมวลรวมหยาบด้วยวิธีการทางภาพถ่ายอย่างมีนัยสาคัญ ได้แก่ ขนาดใหญ่สุดของมวลรวมหยาบขนาดใหญ่สุดของมวลรวมหยาบและอัตราส่วนน้ำต่อปูนซีเมนต์ โดยตัวอย่างที่ใช้มวลรวมขนาดใหญ่สุด ¾ นิ้ว ผลการทดสอบมีความคลาดเคลื่อนสูงสุด 5.13% ในขณะที่ตัวอย่างที่ใช้มวลรวมขนาดใหญ่สุด 1 ½ นิ้ว มีความคลาดเคลื่อนสูงกว่าชัดเจน และมีแนวโน้มสูงขึ้นหากเป็นตัวอย่างคอนกรีตทรงกระบอก ส่วนผลกระทบจากอัตราส่วนน้ำต่อปูนซีเมนต์ที่สูงขึ้นจะทำให้ปริมาณมวลรวมหยาบที่หาได้จากวิธีการทางภาพถ่ายนี้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วนผลกระทบด้านรูปทรงหน้าตัด ขนาดหน้า อัตราส่วนมวลรวมละเอียดต่อมวลรวมทั้งหมด และอายุที่แตกต่างกัน ไม่แสดง แนวโน้มว่ามีผลกระทบต่อวิธีการหาปริมาณมวลรวมหยาบในคอนกรีตที่แข็งตัวแล้วด้วยวิธีทางภาพถ่ายอย่างมีนัยสำคัญth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคอนกรีตth_TH
dc.subjectหินth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการหาปริมาณมวลรวมหยาบในคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว ด้วยวิธีทางภาพถ่ายth_TH
dc.title.alternativeDetermination of Coarse Aggregate Content in Hardened Concrete by Image Processingen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailthidaporn@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailtwc@buu.ac.thth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this investigation were to study the determination of coarse aggregate content in hardened concrete via the method of image processing. The effects of the maximum size of aggregate, the shape of the cross-section area of the sample, size of the cross-section area of the sample, water to cement ratio, sand to total aggregate ratio, and age in concrete were considered in this study. The samples were prepared in a laboratory. The experimental results showed that both the maximum size of aggregate and water to cement ratio significantly affect the determination of coarse aggregate content in hardened concrete when examined via the image processing method. The experimental results of the sample with ¾” of the maximum size of aggregate have a maximum error of 5.13%, but the experimental results of the sample with 1 ½” of the maximum size of aggregate are much higher. Moreover, the experimental results tend to increase error with the cylindrical concrete sample. When examining water to cement, error tended to increase when the water to cement ratio increased. On the other hand, the shape of the cross-section area of the sample, size of the cross-section area of the sample, sand to total aggregate ratio, and age did not significantly affect the determination of coarse aggregate content in hardened concrete when examined via the image processing method.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_160.pdf8.14 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น