กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3958
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวชิรา ดาวสุด
dc.contributor.authorญาณิศา ละอองอุทัย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2020-09-10T02:47:15Z
dc.date.available2020-09-10T02:47:15Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3958
dc.descriptionงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สัญญาเลขที่ 220/2561th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ทำการออกแบบถังหมักแบบยูเอเอสบีร่วมกับการตรึงจุลินทรีย์เพื่อใช้ในการผลิตแก๊สชีวภาพด้วยกระบวนการย่อยสลายแบบไร้ออกซิเจน เพื่อนำผลที่ได้ไปเป็นต้นแบบและข้อมูลจากการทดลองไปประยุกต์ใช้ต่อไป ถังหมักแบบยูเอเอสบีที่ออกแบบมีปริมาตร 4.65 ลิตร ความสูงและเส้นผ่าศูนย์กลางของถังเท่ากับ 35 และ 14.50 เซนติเมตร ตามลำดับ ภายในถังจะมีแผงกั้นรูปทรงสามเหลี่ยมยื่นออกมาจากผนังเพื่อเปลี่ยนทิศทางของแก๊สที่เกิดขึ้นให้ลอยขึ้นไปที่ GSS (Gas–Solid separator) ที่ทำหน้าที่แยกแก๊สและของเหลวออกจากกัน ส่วนล่างของถังมีลักษณะเป็นกรวยเพื่อป้องกันการเกิดเดดโซน (dead zone) ในการหมักแก๊สชีวภาพด้วยถังหมักแบบยูเอเอสบีที่ออกแบบนั้นจะทำการตรึงจุลินทรีย์ด้วยถ่านกัมมันต์และตะกอนเลนบ่อกุ้งเป็นหัวเชื้อเริ่มต้น ระยะเวลาในการกักเก็บของเหลว (Hydraulic Retention Time, HRT) 15 วัน โดยปรับอัตราการไหลให้คงที่อยู่ที่ 310 มิลลิลิตรต่อวัน และปรับค่าความเป็นกรดด่างก่อนป้อนเข้าสู่ถังหมักให้มีค่าอยู่ระหว่าง 6.5-7.5 ทำการหมักจนกระทั่งเข้าสู่สภาวะคงตัว (Steady State) ซึ่งเกิดปริมาณแก๊สชีวภาพสะสมรวมทั้งสิ้น 163.88 มิลลิลิตร และมีแก๊สมีเทนเป็นองค์ประกอบ 24.74 % จากผลการทดลองพบว่าถังหมักแบบยูเอเอสบีร่วมกับการตรึงจุลินทรีย์ที่ได้ออกแบบนี้สามารถดำเนินการหมักเพื่อผลิตแก๊สชีวภาพได้อย่างน่าพอใจth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectก๊ซชีวภาพth_TH
dc.subjectจุลินทรีย์th_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการผลิตแก๊สชีวภาพและพัฒนาแบบจำลองโดยระบบยูเอเอสบีจากของเสียอินทรีย์ร่วมกับการตรึงจุลินทรีย์th_TH
dc.title.alternativeBiogas production and modeling of UASB with microbial immobilization of organic wasteen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailwachira@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailyanisa@eng.buu.ac.thth_TH
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeA design of UASB with microbial immobilization of organic waste for biogas production is presented and used as a prototype to generate data of biogas fermentation. The UASB was designed in 4.65 liters of volume, 35 and 14.50 centimeters in height and diameter, respectively. Inside the tank, there was a triangular barrier protruding from the wall to change the direction of the floating gas to the GSS (Gas–Solid separator) which acted to separate the gas and liquid from each other. The lower part of the tank was designed in a cone shape to prevent dead zones. In the biogas fermentation using the designed UASB fermentation tank, microbial immobilization with activated carbon and shrimp pond sediment were the starter cultures. The hydraulic retention time, HRT and inlet flow rate were set as 15 days and 310 milliliters/day, respectively. The pH of waste water was adjusted before entering into the fermentation tank to 6.5-7.5. The fermentation for 23 days resulted in the total accumulated biogas 163.88 milliliters with 24.64 % of methane. From the results, it was found that the designed UASB with microbial immobilization fermentation tank was able to produce biogas in a satisfactory way.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_107.pdf1.63 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น