กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3938
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อานนท์ วงษ์แก้ว | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2020-08-03T06:51:09Z | |
dc.date.available | 2020-08-03T06:51:09Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3938 | |
dc.description.abstract | งานศึกษานี้เป็นการศึกษาถึงพฤติกรรมของจุดต่อคานเสาของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กของอาคารที่มีอัตราส่วนของกำลังรับโมเมนต์ดัดของเสาต่อคานที่เท่ากับ 2.24 จำนวน 2 ตัวอย่าง โดยตัวอย่าง RCBC-5 มีการเสริมเหล็กตามมาตรฐาน ว.ส.ท.1008-38 เพื่อรับแรงในแนวดิ่งเท่านั้น และ ตัวอย่าง RCBC-6 มีการเสริมเหล็กตามมาตรฐานของ มยพ.1301-54 ตัวอย่างชิ้นงานก่อสร้างและทดสอบภายในห้องปฏิบัติการภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยบูรพา ผลจากการทดสอบนั้นสามารถสรุปผลได้ดังนี้ 1) ตัวอย่างทั้ง 2 (BC-5 และBC-6) สามารถรับแรงสูงสุดได้เท่ากัน อย่างไรก็พฤติกรรมตามหลังการรับแรงสูงสุด พบว่า BC-6 ที่มีรายละอียดการเสริมเหล็กตามมาตรฐานของ มยพ.1301-54 มีการสูญเสียกำลังรับแรงช้ากว่า BC-5 ซึ่งมีรายละอียดการเสริมเหล็กตามมาตรฐานว.ส.ท.1008-38 เพื่อรับแรงในแนวดิ่งเท่านั้น 2) ลักษณะการเสียหายของตัวอย่างที่จุดวิบัติของตัวอย่างทั้ง 2 มีการเสียหายเนื่องมาจากการวิบัติเนื่องจากแรงเฉือนที่บริเวณข้อต่อ (Joint shear failure) และพบว่าอัตราส่วนกำลังรับโมเมนต์ดัดของเสาต่อคานที่มากกว่า 1 ถึง 2.24 เท่า ไม่สามารถที่จะย้ายจุดวิบัติให้เกิดความเสียหายให้เกิดบริเวณคานได้ 3) จากผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าค่าคงที่ของกำลังเฉือน () คำนวณตามมาตรฐาน FEMA 356 มีค่าใกล้เคียงกว่าค่าที่คำนวณโดยมาตรฐานมยผ.1301-54 (ACI318) 4) ตัวอย่างทั้ง 2 มีการสลายพลังงานสะสมความใกล้เคียงกันเนื่องจากขนาดหน้าตัดคานและเสามีขนาดเท่ากัน | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน)ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การออกแบบต้านทานแผ่นดินไหว | th_TH |
dc.subject | โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.title | การประเมินข้อต่อคาน-เสาคอนกรีตเสริมเหล็กของเสาต้นริมที่ก่อสร้างในประเทศไทย ภายใต้แรงแผ่นดินไหว: ระยะที่ 2 | th_TH |
dc.title.alternative | Performance-Based Evaluation of Exterior Reinforced Concrete Building Joints Constructed in Thailand under Earthquake Load: Phase2 | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | arnonw@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_083.pdf | 3.59 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น