กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3830
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สยาม ยิ้มศิริ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2020-03-31T03:36:33Z | |
dc.date.available | 2020-03-31T03:36:33Z | |
dc.date.issued | 2562 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3830 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้จึงศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงคุณสมบัติของดินตะกอนทะเลที่ถูกขุดลอกจากท่าเรือ พาณิชย์แหลมฉบังด้วยจีโอโพลีเมอร์เพื่อประยุกต์ใช้เป็นวัสดุในงานทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม งานวิจัยนี้มีประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมถึง 2 ต่อ คือ (i) เป็นการใช้วัสดุขุดลอกซึ่งเป็นขยะให้เกิดประโยชน์ และ (ii) เป็นการใช้ fly ash ซึ่งเป็นขยะในการผลิต geopolymer โดยงานวิจัยนี้จะศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการปรับปรุงคุณสมบัติของดินตะกอนทะเลดังนี้ (i) ปริมาณ fly ash, (ii) ความเข้มข้นของ NaOH, (iii) สัดส่วนของ Na2SiO3:NaOH, และ (iv) ระยะเวลาการบ่มตัวอย่าง และคุณสมบัติของดินที่ปรับปรุงแล้วที่สนใจคือ California bearing ratio และเปรียบเทียบผลการทดสอบที่ได้กับมาตรฐานโครงสร้างชั้นทางของกรมทางหลวง | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | จีโอโพลีเมอร์ | th_TH |
dc.subject | ดินตะกอน | th_TH |
dc.subject | เถ้าลอย | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.title | การศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงคุณสมบัติของดินตะกอนทะเลด้วยจีโอโพลีเมอร์เพื่อใช้เป็นวัสดุงานทาง | th_TH |
dc.title.alternative | Feasibility study of improvement of dredge soil properties by geopolymer for use as highway material | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | ysiam@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2562 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research studies the feasibility of improving properties of marine dredged soil from Laem Chabang Port by geopolymerization for use as an environmental-friendly pavement material. This research has benefits to environment in 2 folds. Firstly, it makes use of marine dredged soil which is a waste material. Secondly, in its process, it uses fly ash which is another waste material. This research studies factors that affecting improvement of marine dredged soil, i.e. (i) amount of fly ask, (ii) concentration of NaOH, (iii) proportion of Na2SiO3:NaOH, and (iv) curing time. The properties of improved soil which is of interest is California Bearing Ratio (CBR). The resulting CBRs are compared with standards for pavement materials of the Department of Highway. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_333.pdf | 8.35 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น