กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3811
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทิพย์สุรีย์ กรบุญรักษา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2020-03-28T04:04:30Z
dc.date.available2020-03-28T04:04:30Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3811
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ทำการศึกษาเปรียบเทียบการบำบัดน้ำเสียสีรีแอกทีฟสังเคราะห์โดยกระบวนการตกตะกอนด้วยไฟฟ้ากับกระบวนการตกตะกอนไฟฟ้าตามด้วยกระบวนการเฟนตัน แบ่งการทดลองออกเป็น 2 ชุดการทดลอง การทดลองที่หนึ่งคือการบำบัดน้ำเสียโดยกระบวนการเฟนตัน ที่มีการใช้แผ่นอิเล็กโทรดชนิดแผ่นเหล็กและแผ่นอลูมิเนียม ทำการทดลองที่ค่า pH 7 และค่า pH 10 ที่ปริมาณของกระแสไฟฟ้า 2, 4 และ 6 แอมแปร์ ทำการเก็บตัวอย่างทุก ๆ 10 นาที นาน 60 นาทีต่อเนื่อง และการทดลอง ที่สองคือการบำบัดน้ำเสียโดยใช้กระบวนการตกตะกอนด้วยไฟฟ้าตามด้วยเฟนตัน โดยทำการเปรียบเทียบเงื่อนไขการเดินระบบ 3 รูปแบบ คือ (1) การใช้การตกตะกอนด้วยไฟฟ้าด้วยแผ่นเหล็กร่วมกับ H2O2 (2) การทดลองการทำปฏิกิริยากับ Fe2+ กับ H2O2 และ (3) การทดลองการทำปฏิกิริยากับ Fe3+ กับ H2O2 และศึกษาประสิทธิภาพการกำจัดโดยพิจารณาจากค่า pH, color, turbidity, TDS, conductivity, COD, sCOD, Pb และ Cr และวิเคราะห์ปริมาณอลูมิเนียมและเหล็กไอออนที่คงเหลือในน้ำภายหลังการบำบัด (Residual Aluminum หรือ Residual Iron) ผลการศึกษาพบว่าการบำบัดน้ำเสียโดยกระบวนการตกตะกอนด้วยไฟฟ้า พบว่า การเดินระบบการตกตะกอนด้วยไฟฟ้า (EC) ด้วยแผ่นเหล็ก ที่กระแสไฟฟ้า 2 แอมแปร์ ระยะเวลา 30 นาที เป็นสภาวะการเดินระบบที่เหมาะสมที่สุดเมื่อเปรียบเทียบในเชิงคุณลักษณะของน้ำที่บำบัด และระยะเวลาที่ใช้ในการบำบัด ในขณะที่กระบวนการตกตะกอนด้วยไฟฟ้า (EC) ตามด้วยกระบวนการเฟนตันที่เงื่อนไขการทดลอง คือ การใช้ EC แผ่นเหล็ก ที่ pH 10 ตามด้วยการเติม H2O2 ที่ความเข้มข้น 50 mg/L ทำให้คุณลักษณะของพารามิเตอร์ต่าง ๆ ในเสียได้ขึ้น ได้แก่ ค่าสี ความขุ่น การจัดโลหะหนักในรูปตะกั่ว (Pb) และโครเมียม (Cr) แต่จะทำให้ค่า COD และ sCOD ในตัวอย่างน้ำเพิ่มสูงขึ้น สำหรับการวิเคราะห์หาต้นทุนการดำเนินการ พบว่า การบำบัดน้ำเสียการเดินระบบ EC ด้วยแผ่นเหล็ก ที่กระแสไฟฟ้า 2 แอมแปร์ ค่า pH 10 ระยะเวลา 30 นาที มีค่าใช้จ่ายค่าที่สุดเพียง 47.36 บาท/m3th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการบำบัดน้ำเสียth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleการบำบัดน้ำเสียสีรีแอกทีฟสังเคราะห์โดยกระบวนการตกตะกอนด้วยไฟฟ้า ร่วมกับกระบวนการเฟนตันth_TH
dc.title.alternativeTreatment of Synthetic Reactive Dye Wastewater by Electrocoagulation Process with Fenton Processen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailthipsuree@eng.buu.ac.th
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were determined the treatment efficiency of synthetic reactive dye wastewater by electrocoagulation process and electrocoagulation process followed by Fenton process. Two experiments were examined. Firstly, dye wastewater treatment by electrocoagulation process with the conditions of pH 7 and pH 10 and current of 2A, 4A and 6A. Interval sampling time was done every 10 mins for one hour continuously. A second experiment was investigated based on Fenton process and three subset experiments where (1) electrocoagulation process with H2O2 (2) chemical reaction between Fe2++ H2O2 and (3) chemical reaction between Fe3++ H2O2. Removal treatment efficiencies were considered based on pH, color, turbidity, TDS, conductivity, COD, sCOD, Pb and Cr. Residual aluminum and residual iron also were examined. The results found that electrocoagulation process with an iron electrode at 2A, 30 min was the best condition. Due to the high performance of treated wastewater and less time consuming. While electrocoagulation process using iron electrode followed by Fenton process, electrocoagulation process with H2O2, was the good conditions in the second experiment. Higher removal efficiencies were observed in color, turbidity, Pb and Cr while lower removal efficiencies were observed in COD and sCOD. The operating cost for dye wastewater treatment using electrocoagulation process (and iron electrode), with current of 2A at pH 10 for 30 min, was lowest cost only 47.36 baht/ m3.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_304.pdf1.37 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น