กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3773
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชาญยุทธ กาฬกาญจน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2020-02-15T14:02:18Z
dc.date.available2020-02-15T14:02:18Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3773
dc.description.abstractปัญหาน้ำท่วมชายฝั่งพบได้บริเวณพื้นที่ริมชายฝั่งทะเลและบริเวณปากแม่น้ำ ปัจจัยที่ทำให้เกิด ปัญหาดังกล่าว คือ น้ำทะเลหนุน แผ่นดินทรุดตัว แผ่นดินถูกน้ำฝนและน้ำท่ากัดเซาะ หรือน้ำทะเลที่ เพิ่มสูงขึ้น การใช้ที่ดินที่ไม่เหมาะสม ส่งผลให้ในบางพื้นที่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกพืช หรืออยู่อาศัยได้ เช่น พื้นที่บริเวณตำบลตำมะลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ซึ่งได้ถูกเลือกมาเป็นพื้นที่ ศึกษาของโครงการนี้ วิธีการศึกษาประกอบด้วย การสำรวจจัดทำแผนที่ภูมิประเทศ การวิเคราะห์ ข้อมูลระดับน้ำทะเล การเจาะสำรวจธรณีและปฐพีวิทยา การทดสอบหาคุณสมบัติทางด้านวิศวกรรม ของตัวอย่างดิน และแนวคิดการออกแบบเบื้องต้นคันกั้นน้ำทะเลโดยการใช้ดินในพื้นที่เป็นวัสดุ ก่อสร้าง ผลการศึกษา พบว่า ในพื้นที่การแทรกซึมของน้ำทะเลที่เกิดขึ้นทั้งในลักษณะการซึมใต้ผิวดิน (Saltwater intrusion) และน้ำท่วมชายฝั่ง (Coastal flooding) ที่เกิดขึ้นบนผิวดิน ดังนั้น วิธีการ ป้องกันปัญหาน้ำท่วมชายฝั่งที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่นี้ คือ การสร้างคันดินกันน้ำทะเลที่มีฐานลึกลงไป จากผิวดินประมาณ 1-2 เมตรth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการศึกษาเพื่อป้องกันการรุกล้ำของน้ำทะเล และน้ำท่วมชายฝั่งบริเวณพื้นที่ตำบลตำมะลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูลth_TH
dc.title.alternativeAn Investigation and Protection of Saltwater Intrusion and Coastal Flooding in Tambon Tammalang, Amphoe Mueang, Satun Provinceen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailchanyut@buu.ac.thth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeMany coastal and estuary areas have been facing severe flooding problem. The main causes of this problem are high sea-level rise, ground collapse, soil erosion induced by heavy rainfall and water in the river and improper soil usage. As a result, some areas could not be used for agriculture and residential purpose including areas in Tammalang, Mueang, Satun province, which was used as a model in this study. Topographic surveys, sea-level data analysis, soil and geology survey, investigation of soil engineering properties and the design of sea dikes using local soil as a construction material were performed. The results showed that the saltwater intrusion and coastal flooding were occurred at land surface with infiltration by saline water. Since the soil in the studied areas was clay type with a water permeability coefficient (k) less than 2x10-6 m/s. Therefore, the coastal flooding should be more concerned than saltwater intrusion. Consequently, the construction of sea dike with 1-2 m depth from ground surface could be considered as a potential approach to minimize this problem.en
dc.keywordคันดินกั้นน้ำทะเลth_TH
dc.keywordดินเหนียวอินทรีย์th_TH
dc.keywordดินเค็มth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_270.pdf8.98 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น