กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3686
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ณัฐพล ชมแสง | |
dc.contributor.author | นุชธนา พูลทอง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะอัญมณี | |
dc.date.accessioned | 2019-10-04T06:37:12Z | |
dc.date.available | 2019-10-04T06:37:12Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3686 | |
dc.description.abstract | โลหะผสมเงินสเตอร์ลิง 93.5%โดยน้ำหนักหนัก หล่อด้วยกระบวนกำรหล่อกึ่งของแข็งแบบรางเทเพื่อ ปรับปรุงสมบัติเชิงกล โลหะเงินสเตอร์ลิงหล่อในเตาขดลวดเหนี่ยวน้ำที่อุณหภูมิ 1000 องศำเซลเซียส เทผ่าน รางเท มุมในการเทตั้งแต่ 30-60o ระยะเท 20-25 เซนติเมตร ตัวอย่างถูกอบละลายเฟสตามด้วยการทำให้เย็น ตัวอย่างรวดเร็วในน้ำและบ่มแข็งที่ 300 oC ใช้เวลา 30 60 และ 120 นาที ตามลำดับ เพื่อศึกษาผลของการบ่มต่อโครงสรา้งจุลภาค ความแข็ง และความต้านทานแรงดึงของโลหะเงินสเตอร์ลิง ตัวอย่างทดสอบด้วย เครื่องวัดความแข็งจุลภาคแบบวิคเกอร์ เครื่องทดสอบแรงดึงอเนกประสงค์ กล้องจุลทรรศน์แสง และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดที่ติดตั้งสเปคโตรมิเตอร์การกระจำยตัวพลังงานรังสีเอ็กซ์ ความแข็งของ ตัวอย่างหลังบ่มแข็งมีค่าประมาณ 62-148 HV ตัวอย่ำงที่มีค่าความแข็งสูงสุด ได้แก่ ตัวอย่างหล่อด้วยมุม 30o ระยะเท 25 เซนติเมตร บ่มที่ 60 นาที ค่าต้านทานดึงของตัวอย่างดังกล่าวลดลงเทียบกับตัวอย่างหลังหล่อ มีค่าประมาณ 52-200 เมกะปาสคาล โครงสร้างจุลภาคของตัวอย่างหลังบ่มพบตะกอนของทองแดง-เงินใน เฟสอัลฟ่าและไม่พบโครงสร้างเทคติก | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะอัญมณี. มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี | th_TH |
dc.subject | โลหะ - - การหล่อ | th_TH |
dc.subject | เครื่องประดับ | th_TH |
dc.title | การหล่อโลหะผสมสำหรับเครื่องประดับด้วยกระบวนการกึ่งของแข็ง | th_TH |
dc.title.alternative | Alloy casting for jewelry by semi-solid process | en |
dc.type | Research | en |
dc.author.email | natthaphol@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | Semi-solid casting was introduced to improve mechanical properties of sterling silver by sloped cooling plate technique. Ag alloys (93.5 wt %) were cast from an induction furnace at 1000 °C onto a sloped cooling plate. The pouring angles and distances were 30o-60o and 2025 cm, respectively. The solution was treated, followed by quenching in water and aging at 300 oC for 30 60 and 120 minutes. Effects of aging on microstructure hardness and tensile strength of the sterling silver were investigated. The specimens were checked with Vickers microhardness tester, universal tensile tester, optical microscope (OM), and scanning electron microscope (SEM) with equipped energy dispersive x-ray spectrometer (EDS). Hardness of the aged sample from the semi-solid process was about 62-148 HV. Highest hardness was sample cast at 30o angle distance 25 cm aged for 60 minutes. Tensile strength (about 52-200 MPa) of aged samples was decreased which compared with as-cast samples. The microstructure of the aged sample consisted Cu-Ag precipitate in α-phase and not found eutectic structure. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_160.pdf | 4.98 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น