กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3622
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธรรมนูญ รัศมีมาสเมือง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-07-18T01:41:10Z
dc.date.available2019-07-18T01:41:10Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3622
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของคลื่นต่อลักษณะทางกายภาพของต้นกล้าป่าชายเลน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกป่าชายเลน ต้นไม้ที่ใช้ในการศึกษา มี 2 ชนิด คือ ต้นกล้าโกงกางและต้นกล้าแสม การศึกษาดำเนินการในรางจำลองคลื่นที่มีหน้าตัดกว้าง 60 เซนติเมตร ลึก 80 เซนติเมตร และยาว 16 เมตร ต้นกล้าป่าชายเลนทั้งสองชนิดถูกนำไปปลูกในแปลง ทดลองจำลองการปลูกต้นกล้าป่าชายเลนภายในรางน้ำจองลองคลื่นเพื่อรับผลกระทบจากคลื่นความสูง ของระดับน้ำที่ใช้ในการทดลอง 50 เซนติเมตร คลื่นที่ใช้ในการทดลองเป็นคลื่นแบบสม่ำเสมอที่มีคาบคลื่น 1 วินาที และความสูงคลื่นแตกต่างกัน 3 ค่า คือ 7.73, 10.57 และ 12.29 เซนติเมตร ใช้เวลาใน การทดลองกรณีละ 2 ชั่วโมงต่อวัน ทดลองต่อเนื่องเป็นเวลา 30 วัน ผลการทดลองในห้องปฏิบัติบ่งชี้ว่า ความสูงคลื่นมีผลต่อลักษณะทางกายภาพด้านขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลางลำต้นและความสูงของต้นกล้าโกงกางเล็กน้อย แต่ว่าความสูงคลื่นมีผลต่อการหลุดล่วง ของใบและการตายของต้นกล้าโกงกางอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนต้นกล้าแสมมีการเปลี่ยนแปลงขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้นเพิ่มขึ้นตามความสูงคลื่นที่เพิ่มขึ้นแต่การเปลี่ยนแปลงความสูงของลำต้นลดลง จากผล การวิจัยสามารถใช้เป็นแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกป่าชายเลนได้ โดยสามารถเลือกพื้นที่ปลูกต้นกล้าโกงกางและต้นกล้าแสมที่เหมาะสมกับลักษณะการเจริญเติบโตของต้นกล้าทั้งสองได้ และสามารถทำนายเปอร์เซ็นต์ การตายของต้นกล้าโกงกางที่นำไปปลูกได้ด้วยสมการที่ได้จากการศึกษาth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2561th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectป่าชายเลนth_TH
dc.subjectคลื่นth_TH
dc.subjectป่าชายเลน - - การปลูกth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการทดลองในห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับผลกระทบของคลื่นต่อต้นกล้าป่าชายเลนth_TH
dc.title.alternativeA laboratory experiment on the effects of waves on mangrove sproutsen
dc.typeResearch
dc.author.emailthamnoon@buu.ac.th
dc.year2562
dc.description.abstractalternativePurpose of this research is to study the effect of hydrodynamic factors on the physical characteristics and the mortality of mangrove sprouts, in order to be a guideline for increasing the effectiveness of mangrove reforestation. Two types of mangrove sprouts, which are Avicennia alba and Rhizophora apiculata, were used in the study. The experiments were conducted in a wave flume, of which the size is 16 m. long, 60 cm. wide and 80 cm. deep. The mangrove sprouts were planted in the flume with a uniform water level of 50 cm. Three different wave heights (7.73, 10.57 and 12.29 cm.) of regular waves with the period of 1 sec were applied in the experiment. The tests run for two hours per day for each case continuously for thirty days. Laboratory results indicate that the waves slightly affect the physical characteristic on diameter and height of Rhizophora apiculata. However, the waves influence on leaves and death of Rhizophora apiculata. For the case of Avicennia alba, as the wave heights increase, the diameter of them increases but their height decreases averagely. Findings of the research can be used as a guideline for enhancing the effectiveness of mangrove reforestation by selecting appropriate areas for planting the Rhizophora apiculata and Avicennia alba trees and estimating the possible death percentage of Rhizophora apiculata sprouts with the equation proposed by the studyen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_112.pdf5.64 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น