กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3609
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชลี ไพบูลย์กิจกุล
dc.contributor.authorเบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.date.accessioned2019-06-21T02:42:58Z
dc.date.available2019-06-21T02:42:58Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3609
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 การทดลอง การทดลองที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเจริญเติบโตและการลงเกาะของลูกหอยนางรม (Saccostrea commercialis) บริเวณแม่น้ำพังราด จังหวัดระยอง ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนกรกฎาคม 2559 ปัจจัยที่ศึกษาคือ ระยะทางจากปากแม่น้ำถึงตำแหน่งที่ลูกหอยลงเกาะ แบ่งออกเป็น 2 ตำแหน่ง ได้แก่ สถานีห่างจากปากแม่น้ำ 1.4 และ 3.3 กม. แขวนพวกเชือกล่อลูกหอยสถานีละ 10 พวง ตรวจสอบจำนวนและชนิดหอยที่ลงเกาะในเดือนมกราคม วัดความยาวเปลือกหอยทุกเดือน วิเคราะห์จำนวนลูกหอยที่ลงเกาะและความยาวเปลือกด้วยวิธี T-test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ผลการศึกษาพบว่า จำนวนลูกหอยต่อพวงเชือกเฉลี่ยที่ลงเกาะที่สถานีห่างจากปากแม่น้ำ 1.4 และ 3.3 กม. เท่ากับ 41.10+-11.26 และ 44.60+-14.85 ตัว ตามลำดับ จำนวนลูกหอยเฉลี่ยที่ลงเกาะแตกต่างอย่างไม่มีนัยสำคัญ (p<0.05) ระหว่างสองสถานี สัดส่วนลูกหอยที่ลงเกาะทั้งสองสถานีเป็นหอยนางรมมากกว่าร้อยละ 84 เปอร์เซ็นต์ หอยชนิดอื่นที่พบได้แก่ หอยตาดำ และหอยเสียบ การเจริญเติบโตของลูกหอบพบว่า ความยาวของเปลือกหอยเฉลี่ยบริเวณสถานีห่างจากปากแม่น้ำ 3.3 กม. จะมีความยาวเปลือกเฉลี่ยมากกว่าบริเวณสถานีห่างจากปากแม่น้ำ 1.4 กม. อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) นะหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกรกฎาคม 2559 การทดลองที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสภาพเศรษฐกิจการเพาะเลี้ยงหอยนางรมโดยการล่อลูกหอยธรรมชาติของชุมชนปากแม่น้ำพังราด ทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์กับเกษตรกรประกอบวิชาชีพการเพาะเลี้ยงหอยนางรมโดยการล่อลูกหอยตามธรรมชาติ ทั้งหมด 82 ครัวเรือน ในช่วงเดือนมีนาคม ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 แบบสัมภาณ์ประกอบด้วย 3 ส่วน ไก้แก่ คำถามทั่วไป คำถามเกี่ยวกับทัศนคติในการประกอบอาชีพ และคำถามเกี่ยวกับความร่วมมือในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรที่ประกอบอาชีพล่อลูกหอยนางรมส่วนใหญ่มีคงามพึงพอใจในการประกอบอาชีพ ส่วนใหญ่มีอาชีพเสริม เกษตรกรที่ประกอบอาชีพล่อลูกหอยนางรมมีความตระหนักในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมบริเวณชายฝั่งทะเลและบริเวณปากแม่น้ำ และมีการปลูกฝังให้ความรู้กับบุตรหลาน มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาคุณภาพน้ำและป่าชายเลนบริเวณชุมชน และเกษตรกรที่ประกอบอาชีพล่อลูกหอยนางรมส่วนใหญ่มีความคิดว่าสภาพเศรษฐกิจการล่อลูกหอยนางรมจากธรรมชาติของชุมชนบริเวณปากแม่น้ำพังราด จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดระยองในอนาคตไม่มีแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงปัญหาและอุปสรรคสำคัญในการประกอบอาชีพ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำ และราคาผลผลิตมีความไม่แน่นอน เกษตรกรมีความต้องการให้ภาครัฐเข้าช่วยเหลือด้านทุน และการให้ความรู้เกี้ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรีth_TH
dc.subjectหอยนางรมth_TH
dc.subjectหอยนางรม -- การเลี้ยงth_TH
dc.subjectการเพาะเลี้ยงหอยนางรมth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการประเมินศักยภาพการเพาะเลี้ยงหอยนางรมและเศรษฐกิจฐานรากบริเวณชุมชนปากแม่น้ำพังราดth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of oyster culture potential and community economics of Pangrad estuaries community, Rayong Provinceth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailpchalee@buu.ac.th
dc.author.emailbenjamasp@buu.ac.th
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeThis study had two experiments. The first experiment was to examine growth and settlement rate of oyster spat (Saccostrea commercialis) at Phang Rat Estuary, Rayong Province during January to July 2016. The factor of the study was the distance from the estuary to the settlement site which determined two positions, 1.4 and 3.3 km from the estuary. The ten rope bunch per station was hung on the bamboo raft for oyster spat settlement. Amount and species of spat had been collected in January. Shell length had been measured every month. Means of the amount of spat and shell length had been analyzed with T-test at 95% confidence level. Results illustrated that the average numbers of oyster settlement per rope bunch at 1.4 and 3.3 km from the estuary were 41.10±11.26 and 44.60±14.85 oysters and had not significantly different (p>0.05) between the sites. The ratio of settlement oyster spat per other spat had more than 84 percent. The other settlement spats were Hoy Ta Dam and Hoy Seap. The growth of spat at 3.3 km from the estuary had significantly (p<0.05) higher than spat at 1.4 km from the estuary during February to July 2016. The second experiment was to survey the attitude of oyster spat collector by interview at Phang Rat estuary, Chanthaburi and Rayong provinces during March to December 2016. The sample size of this study was 82 household from both areas. The tool of this study was three section questionnaire including general information, career attitude, and cooperation in environmental conservation. The result demonstrated that the oyster spat collector had to satisfy their career. The most of the farmer had the part-time career. The farmer had aware of coastal area and estuary conservation and implanted their child to protect seawater and mangrove in the community. The most of the farmer thought that the economic situation of oyster spat collection had not changed shortly. The severe problems and obstacles of this career were the changes of water qualities and the uncertain of the product price. The farmer needs the helping from the government in the issue of funding and education of natural resources conservationen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_069.pdf4.51 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น