กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3598
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสัญญา ยิ้มศิริ
dc.contributor.authorแววมยุรา คำสุข
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-06-14T02:12:50Z
dc.date.available2019-06-14T02:12:50Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3598
dc.description.abstractการศึกษางานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อมและอิทธิพลโดยรวมของตัวแปรต่อความได้เปรียบในการแข่งขันในอุตสาหกรรมธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ในประเทศไทย และเพื่อพัฒนารูปแบบสมการโครงสร้างของตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความได้เปรียบในการแข่งขันในอุตสาหกรรมธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ในประเทศไทย ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยเป็นแบบการวิจัยเชิงผสม คือ การวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 280 แห่ง และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารอุตสาหกรรมธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ในประเทศไทยจำนวน 10 ท่าน ผู้วิจัยใช้โปรแกรมทางสถิติเพื่อวิเคราะห์ สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง ค่าความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม และในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุผลการวิจัยเป็นดังนี้ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่า รูปแบบการวัดมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์และสอดคล้องกับทฤษฎี โดยตัวแปรสังเกตได้มีค่ามาตรฐานน้ำหนักองค์ประกอบอยู่ระหว่าง 0.592-0.880 ค่าอัตราความผันแปร (R2) เท่ากับ 0.350-0.774 และการวิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ พบว่า รูปแบบของตัวแปรมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (Model Fit) มีค่าทดสอบดังนี้ Chi-square(X2) = 92.952, df = 57, p = .002, CMIN/DF (X2/df)= 1.631, GFI=.956, CFI=.987, AGFI=.918, NFI=.967 and RMSEA= .048 ซึ่งสามารถอธิบายความผันแปรของความได้เปรียบเชิงการแข่งขันได้ ร้อยละ 91 (R2= 0.91) ผลการศึกษาพบว่านวัตกรรม ความร่วมมือ และความสามารถด้านโลจิสติกส์ส่งอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และ อิทธิพลรวมในเชิงบวกต่อความได้เปรียบในการแข่งขันของธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ในประเทศไทยดังนั้นอุตสาหกรรมธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ในประเทศไทย ต้องส่งเสริมและสนับสนุนทางด้านการสร้างความร่วมมือให้เกิดขึ้นในกลุ่มอุตสาหกรรม เพื่อให้เกิดความสามารถด้านโลจิสติกส์รวมถึงการสร้างนวัตกรรมเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้ต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์th_TH
dc.subjectการขนส่งสินค้าth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleโมเดลสมการโครงสร้างของนวัตกรรม ความร่วมมือ และความสามารถด้านโลจิสติกส์ที่มีอิทธิพลต่อความได้เปรียบในการแข่งขันของธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeA Structural Equation Model of Innovativeness, Collaboration and Logistics Capbility that influences Competitve Advantages of Logistics Service Providers in Thailanden
dc.typeResearch
dc.author.emailsyimsiri@eng.buu.ac.th
dc.author.emailwawmayura.cha@hotmail.com
dc.year2559th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study direct, indirect, and total influence of variables on competitive advantage in the logistics service industry in Thailand. In addition, it is to develop the structural equation model of variables that has influence on competitive advantage of logistics service industry in Thailand. The research was conducted in the form of mixed methods research that included quantitative and qualitative research. In a quantitative part, the survey data was collected by questionnaire from a sample size of 280 logistics service providers. Furthermore, for a qualitative part, in-depth interview was performed from executives and management of ten logistics service provider companies in Thailand. A statistical software package was used to analyze statistical data including percentage, mean, standard deviation, skewness, kurtosis, and reliability of the questionnaire. It is also used to perform confirmatory factor analysis (CFA) and structural model equation analysis. The results were as follows. From confirmatory factor analysis, it was found that the measurement pattern was consistent with empirical data and theory. Standard regression weight was found to be between 0.592-0.880. Squared multiple correlation (R 2 ) was 0.350-0.774, and the structural model equation analysis showed that the model fit in with the empirical data. The hypothesis test values were as follow: Chi-square ( 2  ) = 92.952, df = 57, p = .002, CMIN / DF ( 2  / df) = 1.631, GFI = .956, CFI = .987, AGFI = .918, NFI = .967 and RMSEA = .048. This was meant that the model could describe 91% of the variance of competitive advantage (R2 = 0.91). Likewise, the study had found that innovation, collaboration, and logistics capabilities had direct, indirect and total influence in a positive way on the competitive advantage of the logistics service industry in Thailand. Therefore, it is important that the logistics service provider industry in Thailand should promote and support cooperation within the segment as well as to boost innovation in order to elevate competitive advantage and develop this logistics service provider industryen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_062.pdf2.78 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น