กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3593
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วรรณวรางค์ รัตนานิคม | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-06-11T07:16:19Z | |
dc.date.available | 2019-06-11T07:16:19Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3593 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความแม่นยำและเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างผลการประเมินค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกสูงสุดของเสาเข็มโดยวิธีสถิตยศาสตร์และผลการประเมินค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกสูงสุดของเสาเข็มจริงในสนามโดยวิธีการทดสอบ Static pile load test โดยเลือกใช้วิธี Meyerhof, Vesic, และ Janbu สำหรับการคำนวณหาค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกสูงสุดที่ปลายเสาเข็ม และใช้วิธีในดินเหนียว และวิธี Meyerhof ในดินทราย สำหรับการคำนวณหาค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกสูงสุดที่ผิวของเสาเข็ม สำหรับค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกสูงสุดของเสาเข็มจริงในสนามจะถูกวิเคราะห์โดยวิธีของ Mazurkiewicz และ Chin จากผลการวิจัยพบว่า ค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกสูงสุดที่วิเคราะห์โดยวิธี Chin มีค่ามากกว่าวิเคราะห์โดยวิธีMazurkiewicz (1972) ประมาณ 1.39 เท่า และ 1.60 เท่า สำหรับกรณีเสาเข็มตอกและเสาเข็มเจาะตามลำดับ ค่าน้ำหนักบรรทุกสูงสุดของเสาเข็มโดยวิธีสถิตยศาสตร์ที่คำนวณแรงเสียดทานที่ผิวเสาเข็มโดยวิธีต่าง ๆ เมื่อนำมารวมกับผลการคำนวณหาแรงต้านทานที่ปลายเสาเข็มโดยวิธี Vesic มีค่าใกล้เคียงกับค่าน้ำหนักบรรทุกสูงสุดของเสาเข็มจริงในสนามโดย วิธี Mazurkiewicz มากที่สุด ส่วนวิธีของ Meyerhof ให้การประมาณค่าต่ำกว่าประมาณ 0.8 เท่า สำหรับเสาเข็มตอก และ 0.68 เท่า สำหรับเสาเข็มเจาะ แต่การคำนวณหาค่าแรงต้านทานที่ปลายเสาเข็มโดยวิธีของ Janbu ให้การประมาณค่าสูงกว่าน้ำหนักบรรทุกสูงสุดของเสาเข็มจริงประมาณ 1.12 เท่า สำหรับเสาเข็มตอก และ 1.25 เท่า สำหรับเสาเข็มเจาะ | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงงานวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | เสาเข็ม | th_TH |
dc.subject | วิธีสถิตยศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.title | การประเมินความแม่นยำของค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มโดยวิธีสถิตยศาสตร์ | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluation of accuracy of pile capacity by static method | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | wanwarangr@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to evaluate accuracy and compare the different of ultimate pile capacities obtained from static formulas and static pile load test. The formulas proposed by Meyerhof, Vesic, and Janbu were used for calculating end bearing capacities. The methods and Meyerhof method were used for calculating skin frictional capacities for clay and sand, respectively. For static pile load tests, the ultimate load capacities were analyzed by using Mazurkiewicz and Chin methods. The results showed that ultimate load capacities analyzed from Chin method were higher than Meyerhof method 1.39 times and 1.60 times for driven pile and bored pile, respectively. The ratios of the sum of skin frictional capacities calculated from various formulas and end bearing capacities calculated from Vesic method were almost similar to static pile load tests analyzed by Mazurkiewicz method. Ultimate load capacities analyzed from Meyerhof method were lower than static pile load tests 0.8 times and 0.68 times for driven pile and bored pile, respectively. However, ultimate load capacities analyzed from Janbu method were higher than static pile load tests 1.12 times and 1.25 times for driven pile and bored pile, respectively | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_055.pdf | 2.56 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น