กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3592
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อานนท์ วงษ์แก้ว | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-06-11T06:34:03Z | |
dc.date.available | 2019-06-11T06:34:03Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3592 | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้เป็นการประยุกต์ใช้วิธีไฟไนอิลิเมนต์ในการวิเคราะห์หาแรงอัดและพฤติกรรมการรับแรงของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยเริ่มจากการพัฒนาแบบจําลองไฟไนอิลิเมนต์วัสดุคอนกรีต (Exp.1, Exp.2) ทรงกระบอกขนาด 15x30 ซม. และแบบจําลองไฟไนอิลิเมนต์เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก (RC1) หน้าตัดสี่เหลี่ยมขนาด 20x20 ซม. เปรียบเทียบผลการวิเคราะห์แบบจําลองกับผลการทดสอบตัวอย่างในห้องปฏิบัติการ ทําการศึกษาผลของขนาดหน้าตัดเสาต่อการรับแรงอัดและความยืดหยุ่นด้วยแบบจําลองไฟไนอิลิเมนต์ (SC1-SC4) หน้าตัดสี่เหลี่ยมขนาด 15x15, 20x20, 30x30, และ 40x40 ซม. ผลการวิเคราะห์แบบจําลอง Exp.1 และ Exp.2 เทียบกับผลการทดสอบตัวอย่างพบว่าแบบจําลองมีความถูกต้องแม่นยําสูง สามารถทํานายกําลังอัดของคอนรีตได้ดีมาก โดยเฉพาะเมื่อใช้ข้อมูลค่าความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียดอัดของคอนกรีตจากผลการทดสอบคอนกรีตในห้องปฏิบัติการ แบบจําลองเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก RC1 สามารถทํานายแรงอัดสูงสุดของเสาได้ค่อนข้างดีมีค่าคลาดเคลื่อนจากผลการทดสอบเท่ากับ 2.09% และ 11.15% แต่ทำนายค่าการยุบตัว ณ ตําแหน่งแรงอัดสูงสุดได้น้อยกว่า ผลการทดสอบพอสมควร นอกจากนี้ยังสรุปได้ว่าการใช้สมการหาค่าความสัมพันธ์ระหว่างค่าความเค้นและความเครียดอัดของคอนกรีตโดย Desayi & Krishnan [4] กับแบบจําลองไฟไนอิลิเมนต์เสาคอนกรีต เสริมเหล็ก สามารถทํานายค่าแรงอัดสูงสุดได้ดีมาก แต่อาจไม่สามารถทานายค่าการยุบตัวได้ดีเท่าที่ควรในส่วนของแบบจําลอง SC1-SC4 นั้นสรุปว่าแบบจําลองเสาให้ค่าแรงอัดสูงสุดใกล้เคียงกับค่าที่คํานวณจากสมการการออกแบบเสาคอนกรีตเสริมเหล็กตาม ACI ที่ใช้ค่าสัมประสิทธิ์ตัวคูณความเค้นอัดสูงสุดของคอนกรีต (C ) เทาก่ ับ 1.0 และเมื่อคอนกรีตเกิดการแตกร้าวเหล็กยืนของเสาที่มีหน้าตัดขนาดเล็กมีส่วนร่วมในการรับแรงอัดได้ดีกว่าเหล็กยืนในเสาหน้าตัดขนาดใหญ่และเมื่อเสาคอนกรีตที่เสริมกําลังด้วยแผ่นไฟเบอร์จะมีกําลังรับแรงอัดเพิ่มขึ้นตามจํานวนชั้นของแผ่นไฟเบอร์ที่เสริมกําลัง นอกจากนี้ยังมีการหดตัวหลังรับแรงอัดสูงสุดได้มากกว่าเสาที่ไม่เสริมกําลังแผ่นไฟเบอร์ | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจําปีงบประมาณ 2557 | |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | คอนกรีตเสริมเหล็ก | th_TH |
dc.subject | โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.title | การประเมินเสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่ถูกเสริมกำลังด้วยแผ่นไฟเบอร์ลามิเนตด้วยแบบจำลองไฟไนอิเลเมนต์ประเภทแสดงรายละเอียด | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluation of Reinforced Concrete Columns Strengthened with FRP Laminates by Detailed Finife Element Models | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | arnonw@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2557 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study presents Finite Element (FE) Analysis of reinforced concrete columns. First, the finite element models (FEM) of concrete materials with cylindrical shape of 15x30 centimeters (Exp.1 and Exp.2) were created and analyzed. The results show that FEMs of concretes have high accuracy to predict almost the entire stress-strain curves especially when using the compressive stress-strain diagram from the experiments. After verification of the concrete models, then, the FEMs of reinforced concrete columns with a square section of 20x20 centimeters (RC1) were developed. Both FE models show a very good comparison of maximum compressive forces with results tested in the laboratory by the discrepancy of 2.09% and 11.15%, respectively. However, the models are not quite accurate in computing the specimen deformations. By using the concrete model proposed by Desayi and Krishnan [4], the FE models of reinforced concrete columns show excellent results on calculating the maximum compressive forces but not the maximum deformations of columns. The FE models of four square reinforced concrete columns with cross sections of SC1:15x15, SC2:20x20, SC3:30x30, and SC4:40x40 centimeters were analyzed. The results indicate that maximum compressive forces computed by ACI equation for column design are well comparable with the values from the FE analysis, when the compressive strength coefficient of concrete (C ) is taken as 1.0 rather than 0.85. Finally, the FE models show that after the cracking of concrete occurred, the main reinforced steel of smaller cross section columns can more actively participate in a compressive action than those in bigger cross section columns | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_060.pdf | 824.25 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น