กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3587
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กิตติ กรุงไกรเพชร | th |
dc.contributor.author | มัณฑนา รังสิโยภาส | th |
dc.contributor.author | นิสากร กรุงไกรเพชร | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-06-06T04:30:25Z | |
dc.date.available | 2019-06-06T04:30:25Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3587 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิผลของการใช้เครื่องมือป้องกันทารกพลัดหล่นที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่จากงานวิจัยในระยะที่หนึ่ง โดยมีการพัฒนารูปแบบสิ่งประดิษฐ์ให้มีรูปลักษณ์ที่สวยงาม เปลี่ยนวัสดุใหม่ และปรับเปลี่ยนรูปแบบเครื่องมือให้จัดเก็บได้ง่ายเมื่อเลิกใช้งานอาสาสมัครในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ สตรีตั้งครรภ์ จำนวน 30 คน และนิสิตที่กำลังศึกษาในระดับชั้นปริญญาตรี คณะแพทยศาสตร์และคณะพยาบาลศาสตร์ คณะละ 20 คน โดยทั้งสองกลุ่มได้ทดลองฝึกหัดทำคลอด ด้วยเครื่องมือทั้งสองแบบ ผลการศึกษาพบว่า นิสิตมีความมั่นใจต่อการใช้เครื่องมือป้องกันทารกพลัดหล่นเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ใช้เครื่องมือ ส่วนผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของสตรีตั้งครรภ์และนิสิตต่อเครื่องมือวิจัยทั้งสองแบบพบว่า ระดับคะแนนเฉลี่ยในทุกด้านอยู่ในเกณฑ์ดีสรุปผลการศึกษาได้ว่า เครื่องมือป้องกันทารกพลัดหล่นมีผลทำให้นิสิตเกิดความมั่นใจในการฝึกหัดทำคลอดมากยิ่งขึ้น อนาคตเครื่องมือดังกล่าวสามารถพัฒนาเพิ่มเติมให้มีรูปแบบที่สวยงาม สะดวกและมั่นคงแข็งแรงเหมาะแก่การนำไปใช้ในสถานพยาบาลต่าง ๆ และพัฒนาเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ให้กับมหาวิทยาลัยได้ต่อไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะแพทยศาสต์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การทำคลอด | th_TH |
dc.subject | ทารก -- อุบัติเหตุ | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | ประสิทธิผลของเครื่องมือป้องกันทารกพลัดหล่นในการฝึกหัดทำคลอดปกติสำหรับนิสิตนักศึกษาแพทย์และพยาบาล | th_TH |
dc.title.alternative | The effectiveness equipment for prevention of newborn fall during normal delivery training in medical and nursing students | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | kitti@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | montana@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | nisakorn@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2560 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to evaluate the effectiveness of newborn-fall prevention tools which have been developed during the first phase study. We made the new designs, changed the materials and adjusted the tools for easy storage when they were not in use. The 30 volunteer pregnancies, the 20 medical students and 20 nursing students attended this study to try out these devices for the normal vaginal delivery training. The study indicated that there was a statistically significant difference at 0.05 level in comparison between tooling and non-tooling of both models. The analysis of the opinions of pregnant women and students on both research tools revealed that the average scores in all aspects were good. This study concluded that the newborn-fall prevention instruments had a positive effect on the students’ confidence in the practice. In the future, these tools can be further developed in a beautiful model, convenient and stable manner and suitable for use in various hospitals and further developed for commercial purposes. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_051.pdf | 930.88 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น