กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3586
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วรรณวรางค์ รัตนานิคม | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-06-06T03:10:07Z | |
dc.date.available | 2019-06-06T03:10:07Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3586 | |
dc.description.abstract | ชั้นดินกันซึมบดอัดในบ่อฝังกลบถูกใช้เพื่อป้องกันการไหลซึมของน้ำชะขยะลงสู่แหล่งน้้าใต้ดินและแหล่งน้ำธรรมชาติข้างเคียง ดินที่เหมาะสมสำหรับใช้เป็นชั้นกันซึมจะต้องมีค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่านของน้ำไม่เกิน 1x10-9 m/s ค่ากำลังอัดแกนเดียวไม่น้อยกว่า 200 kPa และค่าการหดตัวเชิงปริมาตรน้อยกว่า 4% งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาและปรับปรุงคุณภาพดินที่ถูกขุดลอกจากท่าเรือแหลมฉบังเพื่อประยุกต์ใช้เป็นชั้นวัสดุกันซึมในบ่อฝังกลบขยะ โดยแปรผันอัตราส่วนของดินที่ถูกขุดลอกต่อเถ้าลอยโดยน้ำหนักแห้งต่าง ๆ ได้แก่ 100:0 และ 80:20 และแปรผันระยะเวลาการบ่ม 0, 7, และ 28 วัน และแบ่งการทดสอบออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ (1) ทดสอบหาคุณสมบัติทางดัชนี ได้แก่ ขีดพิกัดเหลว, ขีดพิกัดพลาสติก, ขนาดคละ, ความถ่วงจำเพาะ, และองค์ประกอบทางเคมีโดยการทดสอบ XRF ของดินที่ถูกขุดลอกและเถ้าลอย (2) ทดสอบหาคุณสมบัติทางวิศวกรรมของดินที่ถูกขุดลอกผสมเถ้าลอย ได้แก่ การบดอัด, ค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่านของน้ำ, ค่ากำลังอัดแกนเดียว, และค่าการหดตัวเชิงปริมาตร (3) สร้างกราฟแสดงขอบเขตที่ยอมรับได้ของชั้นดินกันซึมบดอัด จากผลการศึกษาพบว่าดินที่ถูกขุดลอกสามารถใช้เป็นชั้นดินกันซึมในบ่อฝังกลบขยะได้โดยอัตราส่วนของดินที่ถูกขุดลอกต่อเถ้าลอยที่เหมาะสมที่สุดคือ 80:20 และระยะเวลาการบ่ม 28 วัน | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ดินตะกอน -- ท่าเรือแหลมฉบัง | th_TH |
dc.subject | ขยะ -- การจัดการ | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.title | การประยุกต์ใช้ดินตะกอนทะเลที่ถูกขุดลอกจากท่าเรือพาณิชย์แหลมฉบังเพื่อเป็นชั้นวัสดุกันซึมในบ่อฝังกลบขยะ | th_TH |
dc.title.alternative | Application of dredged marine sediments from Laemchabang Port as a landfill compacted clay line | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | wanwarangr@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Landfill compacted soil liners are used to prevent leachate leaks into the groundwater and surrounding water. A suitable soil to be used as the landfill liner must have hydraulic conductivity not more than 1x10-9 m/s, unconfined compressive strength greater than 200 kPa, and volumetric shrinkage less than 4%. This research aimed to study the improvement of dredged soil from Laemchabang Port for an application as a landfill compacted clay liner. The ratios of dredged soil-fly ash mixture were 0 and 20% by total dry weight and 0, 7, and 28 days curing time. The investigation were 3 parts include (1) index and chemical properties of dredged soil and fly ash (liquid limit, plastic limit, particle size analysis, specific gravity, and X-Ray Fluorescence Spectrometer (XRF)) (2) engineering properties of dredged soil-fly ash mixture (compaction, permeability, unconfined compressive strength, and volumetric shrinkage) and (3) plots of overall acceptable zone of compacted dredged soil liner. Experimental results showed that the dredged soil can be used as a landfill liner if it was mixed 20% fly ash at 28 days curing time | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_034.pdf | 2.32 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น