กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3577
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชลี ไพบูลย์กิจกุล | |
dc.contributor.author | มะลิวัลย์ คุตะโค | |
dc.contributor.author | รชนิมุข หิรัญสัจจาเลิศ | |
dc.contributor.author | เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล | |
dc.date.accessioned | 2019-05-24T07:50:05Z | |
dc.date.available | 2019-05-24T07:50:05Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3577 | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 การทดลอง การทดลองที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของชนิดสาหร่ายขนาดเล็ก ชนิดสารป้องกันการเกิดผลึกน้ำแข็งต่ออัตราการรอดของเซลล์สาหร่ายขนาดเล็กที่เก็บรักษาเซลล์ด้วยวิธีการแช่แข็ง ทำการเพาะเลี้ยงสาหร่ายคลอเรลลา คีโตเซอรอส และเตตราเซลมิส ที่ความเค็ม 30 ppt ด้วยอาหารสูตร Cuillard's medium จากนั้นเก็บรวบรวมเซลล์และเติมสารละลายป้องกันการเกิดผลึกน้ำแข็ง 2 ชนิด ได้แก่ กลีเซอรอล และ DMSO ที่ความเข้มข้น 5% นำไปลดอุณหภูมิแล้วนำไปแช่ที่อุณหภูมิ -20 C เป็นเวลา 3 วัน เมื่อครบกำหนดการเก็บรักษาเซลล์สาหร่ายทำการละลาย ล้างเซลล์แล้วนำไปเพาะเลี้ยง ทำการคำนวณอัตราการรอดของสาหร่าย ผลการศึกษาพบว่า มีปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างชนิดสาหร่าย และชนิดสารละลายป้องกันการแช่แข็งคลอเรลลา มีอัตรารอดสูงที่สุด เมื่อทำการแช่แข็งด้วยสารละลาย DMSO เมื่อพิจารณาการเก็บสาหร่ายแช่แข็งด้วยสารละลายกลีเซอรอลพบว่า คลอเรลลามีอัตรารอดมากที่สุด รองลงมาได้แก่ เตตราเซลมิส และคีโตเซอรอส ตามลำดับ และเมื่อพิจารณาการเก็บรักษาสาหร่ายแช่แข็งตามชนิดของสาหร่ายพบว่า คลอเรลลาที่เก็บรักษาด้วยสารละลาย DMSO มีอัตรารอดสูงกว่าคลอเรลลาที่เก็บรักษาด้วยสารละลายกลีเซอรอล อย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) เตตราเซลมิสที่เก็บรักษาด้วยสารละลายกลีเซอรอล มีอัตรารอดสูงกว่าเตตราเซลมิสที่เก็บรักษาด้วยสารละลาย DMSO อย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ในขณะที่คีโตเซอรอสมีอัตรารอดไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P>0.05) การทดลองที่ 2 การศึกษาความเข้มข้น สารป้องกันการเกิดผลึกน้ำแข็งต่ออัตราการรอดของเซลล์สาหร่ายขนาดเล็กที่เก็บรักษาเซลล์ด้วยวิธีการแช่แข็ง ทำการเลือกชนิดสารละลายป้องกันการแช่แข็งที่สาหร่ายแต่ละชนิดมีอัตรารอดสูง เลือกสารละลาย DMSO สำหรับสาหร่ายคลอเรลลา และเลือกสารละลายกลีเซอรอลสำหรับเตตราเซลมิส และคีโตเซอรอส ศึกษาความเข้มข้นของสารละลายป้องกันการเกิดผลึกน้ำแข้งที่เหมาะสม ทำการเปลี่ยนระดับความเข้มข้นของสารละลายป้องกันการเกิดผลึกน้ำแข็ง 2 ระดับ คือ 5 และ 10% ทำการทดลองเก็บข้อมูล และวิเคราะห์ผลการทดลองเหมือนการทดลองที่ 1 ผลการศึกษาพบว่าคลอเรลลาที่เก็บรักศสเซลล์ด้วยสารละลาย DMSO ที่ระดับความเข้มข้น 5% มีอัตรารอดของเซลล์สาหร่ายสูงกว่าการเก็บรักาเซลล์ที่ระดับ 10% อย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) เตตราเซลมิสที่เก็บรักษาเซลล์ด้วยสารละลายกลีเซอรอลที่ระดับความเข้มข้น 5% มีอัตรารอดของเซลล์สาหร่ายมากกว่าการเก็บรักษาเซลล์ที่ระดับ 10% อย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) คีโตเซอรอสที่เก็บรักษาเซลล์ด้วยสารละลายกลีเซอรอลที่ระดับความเข้มข้น 5 และ 10% มีอัตรารอดไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (P>0.05) | th |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี | th_TH |
dc.subject | สาหร่ายน้ำจืด -- เชื้อพันธุ์ -- การเก็บและรักษาโดยการแช่แข็ง | th_TH |
dc.subject | สาหร่ายขนาดเล็ก | th_TH |
dc.subject | สาหร่ายขนาดเล็ก -- การเพาะเลี้ยงและอาหารเลี้ยงเชื้อ | th_TH |
dc.subject | คลอเรลลา -- การเพาะเลี้ยงและอาหารเลี้ยงเชื้อ | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การแช่แข็งหัวเชื้อสาหร่ายขนาดเล็กสำหรับฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเชิงพาณิชย์ | th_TH |
dc.title.alternative | Microalgae stock cryopreservation for hatchery | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | pchalee@buu.ac.th | |
dc.author.email | maliwan@buu.ac.th | |
dc.author.email | rachanimuk@buu.ac.th | |
dc.author.email | benjamas@buu.ac.th | |
dc.year | 2560 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study had two experiments. The first experiment was to investigate the effect of algal species and cryoprotectant on the viability of cryopreservation. Three microalgae including Chlorella sp., Chaetoceros sp. and Tetraselmis sp. were cultured with 30 ppt Guillard's medium. The microalgal cell was collected, and 5% of two cryoprotectants consisting of dimethyl sulfoxide (DMSO), and glycerol was added. Then, the temperature of the sample was ewduced and freeze at 20 degree Celsius for three days. The microalgae were thawed and washed the cells when due to storage time. The recovery microalgae were cultured and calculated the viability of the cell. The result showed the interaction between algal species and cryoprotectant. Chlorella preserved with DMSO was the highest viability rate. Chlorella was the greatest viability rate and the next was Tetraselmis and Chaetoceros when preserved microalgae with glycerol. When considering as species of microalgae, Chlorella preserved with DMSO had significantly higher viability rate (P<0.05) than those preserved with glycerol. Tetraselmis preserved with glycerol had significantly greater viability reat (P<0.05) than those preserved with DMSO. The viability rate of Chaetoceros was not significantly diffrent when preserved in both solutions. The second experiment examined the concentration of cryoprotectant on viability rate of cryopreservation. The cryoprotectant type in each microalga that had the highest viability rate was select. DMSO was used for Chlorella and glycerol was adopted for Tetraselmis and Chaetoceros. Two lecels of cryopretectant, 5 and 10 percent had applied. The experiment operation, data collection, and data analysis followed by the first experiment. The result illustrated that Chlorella and Tetraselmis that preserved with 5 percent DMSO and glycerol, respectively, had significantly larger viability rate (P<0.05) than those preserved with 10 percent cryoprotectants. Chaetoceros preserved with 5 and 10 percent glycerol were not significantly different (P<0.05) | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_049.pdf | 914.15 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น