กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/351
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชุติวรรณ เดชสกุลวัฒนาth
dc.contributor.authorปรีชา ภูวไพรศิริศาลth
dc.contributor.authorภาวิณี ปิยะจตุรวัฒน์th
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:28Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:28Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/351
dc.description.abstractปัญหาการเพิ่มขึ้นของโรคอุบัติใหม่และการดื้อยาปฎิชีวนะของเชื้อโรคต่างๆ ในโลกนับเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของมนุษย์ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจหาสารตัวยาใหม่โดยทดสอบฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย ทดสอบโดยแบคทีเรียที่อาศัยอยู่กับฟองน้ำในทะเลไทย ซึ่งจะเป็นแหล่งใหม่ของสารออกฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย จากการตรวจสอบฤทธิ์การต้านแบคทีเรียทดสอบโดยแบคทีเรียทะเลจำนวน 444 สายพันธุ์ ที่ได้คัดแยกจากฟองน้ำ 66 ตัวอย่างที่เก็บมาจากเกาะแตน และ เกาะมัดสุ่ม จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยตรวจสอบฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียแกรมบวก ได้แก่ Bacillus subtilis, Staphylococcus aureus และแกรมลบ ได้แก่ Psedomonas aeruginosa, Vibrio alginoliticus และ Escherichia coli พบว่ามีแบคทีเรียทะเลที่อาศัยอยู่กับฟองน้ำ 44 สายพันธุ์ คิดเป็นร้อยละ10 ที่แสดงฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียที่ทดสอบ ได้แก่ B.Subtilis, S. aureus, P. aeruginosa และ E. coli แต่ไม่มีแบคทีเรียทะเลใดสามารถยับยั่ง V. alginoliticus เมื่อนำสายพัธุ์ที่แสดงฤทธิ์ 44 สายพันธุ์ มาทำการเพาะเลี้ยงและสกัดสารแยกออกเป็นส่วนของน้ำเลี้ยงสกัดด้วยตัวทำละลายเอทิลอะซิเตท และส่วนของเซลล์สกัดด้วยสารละลายผสมเมทานอลและคลอโรฟอร์ม (อัตราส่วน 2:1) และระเหยแห้งด้วย Rotary Evaporator จนได้สารสกัดหยาบทั้งสองส่วน จากนั้นนำไปทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งแบคทีเรียซ้ำด้วยวิธี Disc Diffusion Agar Assay พบว่าสารสกัดหยาบของแบคทีเรียทะเลนี้มีเพียง 11 สายพันธุ์ที่ยังคงมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่ทดสอบได้แก่ B. subtilis, S. aureus และ V. alginoliticus แต่มีสารสกัดหยาบของแบคทีเรียทะเล 33 ตัวอย่างสูญเสียความสามารถในการยับยั้ง E. colith_TH
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณแผ่นดินปี 2553 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectฟองน้ำ - - จุลชีววิทยาth_TH
dc.subjectแบคทีเรีย - - สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพth_TH
dc.subjectสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleจุลชีพที่อาศัยอยู่กับฟองน้ำ : แหล่งใหม่ของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ระยะที่ 2th_TH
dc.title.alternativeMarine microbes associated with sponges as sources of bioactive compounds and food supplements, phase IIen
dc.typeResearchth_TH
dc.year2554
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น