กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3481
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิชุดา จันทร์ข้างแรม
dc.contributor.authorสุนทรต์ ชูลักษณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-04-05T14:04:29Z
dc.date.available2019-04-05T14:04:29Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3481
dc.description.abstractการศึกษาสารสกัดหยาบด้วยเอทานอลของกาวไหมและหม่อนนำมาวิเคราะห์กิจกรรมการต้านออกซิเดชันและปริมาณสารฟีนอลิกโดยรวมด้วยวิธีต่าง ๆ ได้แก่ ABTS (2,2'-azino-bis (3-ethylbenzthiazoline-6-sulphonic)), DPPH (2,2-Diphenyl-1-picrylhdrazyl radical) และferric reducing antioxidant power (FRAP) หาปริมาณฟีนอลิกโดยรวมด้วยวิธี Folin-Ciocalteu หาปริมาณฟลาโวนอยด์โดยรวมโดยใช้วิธี aluminum chloride colorimetric assay การหาปริมาณโปรตีนด้วยวิธี Lowry assay และการหาฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสด้วยวิธี Dopachrome โดยมีสารไทโรซีนเป็นสารตั้งต้น ผลการทดลองพบว่า เมื่อวัด กิจกรรมการต้านออกซิเดชันด้วยวิธี DPPH กาวไหมพันธุ์เหลืองสุรินทร์มีค่าเปอร์เซ็นต์การยับยั้ง (% inhibition) ที่ต่ำที่สุด (9.257±0.003) หม่อนสายพันธุ์นครราชสีมา 60 สามารถรีดิวซ์ TPRZ-Fe (III) complex ไปเป็น TPRZ-Fe(II) ได้สูงที่สุด (490.518±0.011) และหม่อนพันธุ์นครราชสีมา60 หม่อนพันธุ์สกลนครมีกิจกรรมการกำจัดอนุมูลอิสระ 2,2'-azino-bis (3-ethylbenzthiazoline-6-sulphonic acid (ABTS) ที่ใกล้เคียงกัน (97.725±0.002, 97.880±0.0019 ตามลำดับ) ปริมาณฟีนอลิกโดยรวม สูงที่สุดพบในหม่อนพันธุ์สกลนคร (3574.731µg/ 1 g สารตัวอย่าง) ขณะที่กาวไหมสายพันธุ์นางน้อยศรีษะเกษปริมาณฟีนอลิกต่ำที่สุด (62.871 µg/ 1 g สารตัวอย่าง) ปริมาณฟลาโวนอยด์ โดยรวมพบว่าหม่อนพันธุ์สกลนครมีปริมาณฟลาโวนอยด์โดยรวมสูงที่สุด (51527.37 µg/ 1 g สารตัวอย่าง) การหาปริมาณโปรตีนในสารสกัดหยาบของกาวไหมและหม่อนจะพบว่าในหม่อนพันธุ์สกลนคร จะมีปริมาณโปรตีนที่มากที่สุด (6234.933 µg/g) และในกาวไหมสายพันธุ์ไหมอีรี่ (ไหมป่า) มีโปรตีนน้อยที่สุด (106.333 µg/g) สารสกัดหยาบของกาวไหมมีการยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสที่สูงกว่าในสารสกัดหยาบจากหม่อน จากผลการวิจัยทั้งหมดชี้ให้เห็นว่า หม่อนทั้ง 2 สายพันธุ์จะมีปริมาณฟีนอลิกโดยรวมและปริมาณฟลาโวนอยด์โดยรวมสูง และส่งผลให้มีฤทธิ์ในการต้านออกซิเดชันได้อย่างมีประสิทธิภาพth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้วth_TH
dc.subjectหม่อนth_TH
dc.subjectฟลาโวนอยด์th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดหยาบเอทานอลจากหม่อน (Morus alba Linn.) และกาวไหม (Bombyx mori.) เพื่อการตั้งสูตรตำรับผลิตภัณฑ์บำรุงผิวขาวth_TH
dc.title.alternativeBiological activity of crude ethanol extracted from mulberry (Morus alba Linn.) and silk sericin protein (Bombyx mori.) for skin whitening cosmatics productsen
dc.typeResearch
dc.author.emailwichudajan@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailsunthornc@buu.ac.thth_TH
dc.year2560th_TH
dc.description.abstractalternativeIn this study, the crude ethanol extracts of silk sericin and mulberry were analyzed for phenolic antioxidant activity by ABTS (2,2'-azino-bis (3- ethylbenzthiazoline-6- DPPH (2,2-Diphenyl-1-picrylhdrazyl radical) and ferric reducing antioxidant power (FRAP). Total phenolic compound was determined by FolinCiocalteu assay. The total flavonoid content was determined by using an aluminum chloride colorimetric assay. The protein content was analyzed by Lowry assay and tyrosinase inhibition assay was also determined. The results showed that, when measured by DPPH, Luang Surin had the lowest percentage of inhibition (9.257 ± 0.003). Mulberry strain Nakhon Ratchasima 60 has highest reducing power (490.518 ± 0.011) that convert TPRZ-Fe (III) into TPRZ-Fe (II). The Nakhon Ratchasima 60 and Sakon Nakhon have approximately similar level of antioxidant activity when determined by 2,2'-azine bis (3-ethylbenzthiazoline-6-sulphonic acid (ABTS) assay. (97.725 ± 0.002, 97.880 ± 0.0019, respectively) The highest total phenolic content was found in Sakon Nakhon (3574.731 μg / 1 g sample) while the lowest phenolic content (62.871 μg / 1 g) was detected in Nang Noi Sri Saket. The highest total flavonoid content was found in Sakon Nakhon (51527.37 μg / 1 g sample). The protein content of crude extract Sakon Nakhon has the highest protein level (6234.933 μg / g) whereas the eri silk possesses the lowest protein content (106.333 μg / g). The crude ethanol extracted showed higher inhibitory activity of tyrosinase enzyme than that of the mulberry extracts. The results from this research suggested that the two types of mulberry had a high total phenolic content and also high total flavonoid content with correspond to the level of its antioxidant activityen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย(Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2562_022.pdf5.02 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น