กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3465
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorมะลิวัลย์ คุตะโค
dc.contributor.authorปวีณา ตปนียวรวงศ์
dc.contributor.authorชลี ไพบูลย์กิจกุล
dc.contributor.authorรชนิมุข หิรัญสัจจาเลิศ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.date.accessioned2019-04-03T02:47:36Z
dc.date.available2019-04-03T02:47:36Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3465
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้แยกสาหร่ายจากบริเวณบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและแหล่งน้ำเค็มธรรมชาติที่ตั้งอยู่ในจังหวัดจันทบุรี พบว่าในบริเวณบริเวณบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเค็มสามารถแยกได้ 5 ชนิด คือ ไดอะตอม Nitzschia BUUC1501 ไดอะตอม Amphora BUUC1502 และสาหร่าย Unknown BUUC1503 สาหร่าย Unknown BUUC1504 และสาหร่าย Spirulina BUUC1505 ส่วนในแหล่งน้ำเค็มธรรมชาติสามารถแยกสาหร่ายได้ 2 ชนิด คือ สาหร่าย Chlorella BUUC1601 และไดอะตอม Amphora coffeaeformis (BUUC1602) เมื่อนำสาหร่ายที่แยกได้มาเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการโดยใช้อาหาร F/2 ที่เตรียมจากน้ำ ทะเลธรรมชาติ (ความเค็ม 30 พีพีที) พบว่าสาหร่าย Unknown BUUC1503, Unknown BUUC1504 และสาหร่าย Spirulina BUUC1505 เติบโตได้ดีแต่พบว่าสาหร่ายมีการปนเปื้อนจากแบคทีเรียและสาหร่ายชนิดอื่น ส่วนไดอะตอม Nitzschia BUUC1501, Amphora BUUC1502, Chlorella BUUC1601 และ A. coffeaeformis (BUUC1602) มีความบริสุทธิ์ปราศจากการปนเปื้อน และมีอัตราการเติบโตจำเพาะ 0.55, 0.47, 1.22 และ 2.46 ต่อวัน ตามลำดับ โดยมีผลผลิต มวลชีวภาพ 71.04 x107, 62.76 x107, 1,089 x107 และ 87.33x107 เซลล์/ลิตร/วัน ตามลำดับ ไดอะตอม Nitzschia BUUC1501, Amphora BUUC1502, สาหร่าย Chlorella BUUC1601 และ A. coffeaeformis มีกรดไขมันปาล์มิติค (C16:0), ปาล์มิโตเลอิค (C16:1), สเตียริค (C18:0) และ โอเลอิค (C18:1n9) ส่วนกรดไขมันไลโนเลอิค (C18:2n6) และสเตียริโดนิค (C18:4n3) พบใน Chlorella BUUC1601 และ A. coffeaeformis เท่านั้น ในขณะที่ กรดไขมันอีโคซะเพนเตอีโนอิค (C20:5n3) พบเฉพาะในไดอะตอม Nitzschia BUUC1501 (10.52% ในปริมาณกรดไขมันทั้งหมด) และ A. coffeaeformis (BUUC1602) (8.26% ในปริมาณกรดไขมันทั้งหมด)th_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยบูรพาผ่านสำนักงาน คณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติเลขที่สัญญา 42/2559th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรีth_TH
dc.subjectสาหร่ายทะเลth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleผลผลิตมวลชีวภาพและไขมันจากสาหร่ายน้ำเค็มที่เลี้ยงภายใต้สภาวะการเติบโตแตกต่างกันth_TH
dc.title.alternativeBiomass and lipid production of marine microalgae under different growth conditionsen
dc.typeResearch
dc.author.emailmaliwan@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailpchalee@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailrachanimuk@buu.ac.thth_TH
dc.year2560
dc.description.abstractalternativeIn this study, microalgae were isolated from aquaculture pond and natural seawater in Chanthaburi Province. Five species of microalgae i.e. Nitzschia BUUC1501, Amphora BUUC1502, Unknown BUUC1503, Unknown BUUC1504 and Spirulina BUUC1505 were isolated from aquaculture pond. A green alga Chlorella BUUC1601 and diatom Amphora coffeaeformis (BUUC1602) were isolated from natural seawater. Cultures of microalgae were conducted under laboratory condition. Microalgae grown in F/2 medium that prepared from natural seawater (30 ppt). It was found that growth of Unknown BUUC1503, Unknown BUUC1504 and Spirulina BUUC1505 was quite good. However, those of microalgae were contaminated with bacteria and another species of microalgae. Pure cultures of Nitzschia BUUC1501, Amphora BUUC1502, Chlorella BUUC1601 and A. coffeaeformis (BUUC1602) were also performed. Their specific growth rate and biomass productivity were 0.55, 0.47, 1.22 and 2.46 day-1and 71.04 x107, 62.76 x107, 1,089 x107 and 87.33x107cells/L/day, respectively. Some fatty acids such as plamitic acid (C16:0), palmitoleic acid (C16:1), stearic acid (C18:0) and oleic acid (C18:1) were found in Nitzschia BUUC1501, Amphora BUUC1502, Chlorella BUUC1601 and A. coffeaeformis. While, linoleic acid (C18:2n6) stearidonic acid (C18:4n3) was found in Chlorella BUUC1601 and A. coffeaeformis. Eicosapentaenoic acid (C20:5n3) was found in Nitzschia BUUC1501 (10.52% in TFA) and A. coffeaeformis (BUUC1602) (8.26% in TFA)en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2562_006.pdf5.07 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น