กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/343
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | แววตา ทองระอา | th |
dc.contributor.author | พัฒนา ภูลเปี่ยม | th |
dc.contributor.author | ไพฑูรย์ มกกงไผ่ | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:47:28Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:47:28Z | |
dc.date.issued | 2534 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/343 | |
dc.description.abstract | การศึกษาคุณภาพน้ำทะเลในเขตว่ายน้ำชายหาดบางแสน หาดพัทยา และหาดจอมเทียน จังหวัดชลบุรี ในระหว่างเดือน มกราคม ถึง ธันวาคม พบว่าคุณภาพน้ำในแต่ละที่เป็นดังนี้ หาดบางแสน มีค่าอุณหภูมิน้ำ 27.0-32.0 'C ความเค็ม 17.0-36.0 %. ความเป็นกรดเป็นด่าง 7.92-8.36 ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ 5.5-8.8 mg/l ค่าบีโอดี 0.4-7.4 mg/l ปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียรวม 13-18,000 MPN/100 ml และปริมาณพีคอลโคลีฟอร์มแบคทีเรีย 8-2,400 MPN/100 ml หาดพัทยา มีค่าอุณหภูมิน้ำ 28.0-32.0 'C ความเค็ม 27.0-35.0 %. ความเป็นกรดเป็นด่าง 7.70-8.45 ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ 4.6-12.5 mg/l ค่าบีโอดี 0.3-8.0 mg/l ปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียรวม 21-240,000 MPN/100 ml และปริมาณพีคอลโคลีฟอร์มแบคทีเรีย 2-130,000 MPN/100 ml หาดจอมเทียน มีค่าอุณหภูมิน้ำ 28.0-32.0 'C ความเค็ม 30.0-36.0 %. ความเป็นกรดเป็นด่าง 7.75-8.39 ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ 6.1-8.9 mg/l ค่าบีโอดี 0-8.3 mg/l ปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียรวม <2-2,800 MPN/100 ml และปริมาณพีคอลโคลีฟอร์มแบคทีเรีย <2-2,400 MPN/100 ml ตามมาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลเพื่อการว่ายน้ำ ซึ่งกำหนดให้มีค่าของปริมาณโคลีฟอร์มแบคทีเรียรวมได้ไม่เกิน 1,000 MPN/100 ml พบว่าคุณภาพน้ำทะเลทั้ง 3 หาดมีสภาพที่เสื่อมโทรมไม่เหมาะแก่การว่ายน้ำเป็นบางพื้นที่และในบางเดือนเท่านั้น ยกเว้นหาดพัทยาโดยเฉพาะพัทยาใต้มีสภาพที่เสื่อมโทรมเกือบตลอดทั้งปี เมื่อเปรียบเทียบคุณภาพน้ำทะเลเพื่อการว่ายน้ำของทั้ง 3 หาด พบว่าหาดจอมเทียนมีคุณภาพดีที่สุด รองลงมาได้แก้หาดบางแสน ส่วนหาดพัทยามีสภาพเสื่อมโทรมมากที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่าคุณภาพน้ำทะเลทั้ง 3 หาด ในปี 2534 มีสภาพเสื่อมโทรมลงมากขึ้นจากปี 2532 และปี 2533 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | คุณภาพน้ำ - - ชลบุรี | th_TH |
dc.subject | คุณภาพน้ำ - - พัทยา | th_TH |
dc.subject | คุณภาพน้ำ | th_TH |
dc.subject | ชายทะเล | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การศึกษาคุณภาพน้ำ ในเขตว่ายน้ำ ชายหาดบางแสน หาดพัทยา และหาดจอมเทียน จังหวัดชลบุรี 2534 | th_TH |
dc.title.alternative | A study on coastal water quality in the swimming zones at bangsaen, pattaya and jomtien beaches in chonburi province in 1991 | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2534 | |
dc.description.abstractalternative | Coastal water quality in the swimming zones at Bangsaen, Pattaya and Jomtien beaches were studied during the month of january to december 1991. It was found that the water quality in each beach was in the following rang : Bangsean beach, temperature 27.0-32.0 'c, salinity 17.0-36.0 %. , pH 7.92-8.36, dissolved oxygen 5.5-8.8 mg/l , BOD 0.4-7.4 mg/l, total coliform bacteria 13-18,000 MPN/100 ml and faecal coliform bacteria 8-2,400 MPN/100 ml. Pattaya beach found that the temperature 28.0-32.0 'c, salinity 27.0-35.0 %. , pH 7.70-8.45, dissolved oxygen 4.6-12.5 mg/l , BOD 0.3-8.0 mg/l, total coliform bacteria 21-240,000 MPN/100 ml and faecal coliform bacteria 2-130,000 MPN/100 ml. Jomtien beach found that temperature 28 .0-32.0 'c, salinity 30.0-36.0 %. , pH 7.75-8.39, dissolved oxygen 6.1-8.9 mg/l , BOD 0.-8.3 mg/l, total coliform bacteria <2-2,800 MPN/100 ml and faecal coliform bacteria <2-2,400 MPN/100 ml. Based on the coastal water quality standard for swimming which specified that the total coliform bacteria should not be more that 1,000 MPN/100 ml, the results indicated that the water quality of all the three beaches were not in good condition for swimming in some stations and some months, except at south Pattaya was degraded almost throughout the year. Comparing the water quality for swimming of the three beaches found that Jomtien is the best, followed by Bangsean beach and Pattaya beach is the worst. Moreover, the results indicated that the water quality of the three beaches in the year 1991 were more degraded than in the year 1989 and 1990. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น