กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3435
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเพ็ญประภา ไสวดี
dc.contributor.authorชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริ
dc.contributor.authorพรนภา หอมสินธุ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:29Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:29Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3435
dc.description.abstractการวิจัยเชิงหาความสัมพันธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการดูแลตนเองของคนพิการทางการเคลื่อนไหว กลุ่มตัวอย่างได้แก่คนพิการทางการเคลื่อนไหวในอาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี จำนวน 293 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์ภาวะสุขภาพ แบบสัมภาษณ์การสนับสนุนทางสังคม และแบบสัมภาษณ์ความสามารถในการดูแลตนเองของคนพิการทางการเคลื่อนไหว โดยแบบสัมภาษณ์แต่ละชุดมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ .96, .85 และ .86 ตามลาดับ เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียล ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีภาวะสุขภาพ และความสามารถในการดูแลตนเองโดยรวมอยู่ในระดับดี (M = 7.33, SD = 1.40 และ M = 4.72, SD = 0.33 ตามลาดับ) และการสนับสนุนทางสังคมโดยรวมอยู่ในระดับมาก (M = 4.10, SD = 0.33) เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่าอายุและระดับความพิการมีความสัมพันธ์ทางลบกับความสามารถในการดูแลตนเองของคนพิการทางการเคลื่อนไหวอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = -.12, p < .05 และ r = -.13, p < .05 ตามลาดับ) การศึกษา ภาวะสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสามารถในการดูแลตนเองของคนพิการทางการเคลื่อนไหวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .20, p < .01; r = .60, p < .001 และ r = .34, p < .001 ตามลาดับ) ส่วนเพศ รายได้ ระยะเวลาพิการไม่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการดูแลตนเองของคนพิการทางการเคลื่อนไหว จากผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลและบุคลากรทางสาธารณสุขควรนาผลการวิจัยไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนากิจกรรมหรือโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการทางการเคลื่อนไหว โดยเฉพาะการยกระดับภาวะสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคมในกลุ่มผู้พิการทางการเคลื่อนไหวที่มีอายุมากth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองth_TH
dc.subjectคนพิการ - - ไทย - - ชลบุรีth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการดูแลตนเองของคนพิการ ทางการเคลื่อนไหว อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors related to self care ability among people with mobility impairment in Banglamung district, Chon Buri provinceen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume24
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to examine factors related to self-care ability among people with mobility impairments in Banglamung district, Chon Buri province. A simple random sampling method was used to recruit the sample of 293. Research instruments included a demographic, health status, social support and self-care agency questionnaire with Cronbach’s alpha coefficient .96, .85, and .86, respectively. Data collection took place from January to February, 2015. Data were analyzed by using descriptive statistics, Pearson’s product moment correlation coefficients, and point bi-serial correlation coefficient. The results revealed that subjects’ health status and self-care ability were considered as a good level (M = 7.33, SD = 1.40 and M = 4.72, SD = 0.33 respectively) and social support was considered as a high level (M = 4.10, SD = 0.33). For correlation analysis, the age and disability level had a significantly negative correlation with self-care ability (r = -.12, p < .05 and r = -.13, p < .05 respectively); health status, education, and social support had significantly positive correlation with self-care ability (r = .20, p < .01; r = .60, p < .001 and r = .34, p < .001 respectively). However, sex, income, and period of the disabilities had no significant correlation with self-care ability. The findings suggest that nurses and health professionals should use the results to develop projects or activities for elderly people with mobility impairments to focus on health status and social support enhancement.en
dc.journalวารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of faculty of nursing Burapha University
dc.page0858-4338
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
nus24n1p89-101.pdf535.46 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น