กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3428
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวชิรา ปิยะพันธุ์
dc.contributor.authorรุ่งรัตน์ ศรีสุริยเวศน์
dc.contributor.authorพรนภา หอมสินธุ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:28Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:28Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3428
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการหาความสัมพันธ์เชิงทำนาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความตั้งใจต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และปัจจัยทำนายความตั้งใจต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบมีความเสี่ยงในนักเรียนอาชีวศึกษาชาย โดยใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน (Ajzen, 1991) เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนอาชีวศึกษาชายระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1-3 ในจังหวัดชัยนาท จำนวน 240 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามตอบด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงพรรณนา และสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับความตั้งใจต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบมีความเสี่ยงในระดับต่ำ เจตคติต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบมีความเสี่ยง (β = .294) การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงในการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์แบบมีความเสี่ยง (β = .259) ความมั่นใจในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบมีความเสี่ยง (β = - .226) และเกรดเฉลี่ยการเรียน (β = - .161) สามารถร่วมกันทำนายความแปรปรวนของความตั้งใจดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบมีความเสี่ยงได้ร้อยละ 39.6 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 adj = .396, F(4, 235) = 40.108, p < .001) ดังนั้น ในการลดความตั้งใจของวัยรุ่นชายในการ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบมีความเสี่ยงควรเน้นกลวิธีในการปรับเปลี่ยนค่านิยมและความเชื่อที่ผิดๆ ต่อการดื่มแบบมีความเสี่ยง รวมทั้งการพัฒนาทักษะการสื่อสาร การแก้ปัญหา และการตัดสินใจท่ามกลางแรงกดดันจากเพื่อนและสังคมรอบด้านth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth
dc.subjectการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์th_TH
dc.subjectความตั้งใจth_TH
dc.subjectนักเรียนอาชีวศึกษาth_TH
dc.titleปัจจัยทำนายความตั้งใจต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบมีความเสี่ยงในนักเรียนอาชีวศึกษาชาย จังหวัดชัยนาทth_TH
dc.title.alternativePredictive factors of intention to engage in risky drinking among male vocational students in Chai Nat provinceen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume24
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this predictive correlational study was to explore level of intention to engage in risky drinking and examine predicting factors of intention to engage in risky drinking among male vocational students. The Theory of Planed Behavior [TPB] (Ajzen, 1991) was used as a conceptual framework in this study. Participants were 240 male diploma 1-3 vocational students in Chai Nat Province. They were selected by multi-stage random sampling. Data were collected with self-administered questionnaires. Statistics including descriptive statistics and stepwise multiple regression analysis were used for data analysis. Results revealed that the sample reported low level of intention to risky drinking. Regression analysis demonstrated the TPB explained 39.6% of the variance in risky drinking intentions of students, with attitude (β = .294); subjective norms (β = .259); alcohol drinking refusal self-efficacy (β= - .226) and grade point average (β = - .161) making a significant contribution (R2 adj = .396, p < .001). The results suggest that to reduce intention to risky drinking among male vocational students should address supporting values and beliefs against risky drinking and developing skills in assertiveness, communication, problem solving, and decision making that were resistant to peer, social, and cultural pressure.en
dc.journalวารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of faculty of nursing Burapha University
dc.page85-96.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
nus24n2p85-96.pdf267.34 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น