กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3412
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสมสมัย รัตนกรีฑากุล
dc.contributor.authorยุวดี ลีลัคนาวีระ
dc.contributor.authorสุวรรณา จันทร์ประเสริฐ
dc.contributor.authorนิสากร กรุงไกรเพชร
dc.contributor.authorเจนจิรา เจริญการไกร
dc.contributor.authorอริสรา ฤทธิ์งาม
dc.contributor.authorอังคนา จงเจริญ
dc.contributor.authorศิริยุพา สนั่นเรืองศักดิ์
dc.contributor.authorชรัญญากร วิริยะ
dc.contributor.authorตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรี
dc.contributor.authorสุธารัตน์ ชำนาญช่าง
dc.contributor.authorวชรีกร อังคประสาทชัย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:26Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:26Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3412
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศูนย์เรียนรู้ทางการพยาบาลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพบนพื้นฐานนวัตกรรมการบริการสุขภาพของพื้นที่ และศึกษาผลการทดลองใช้หลักสูตรของศูนย์เรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งเป็นพยาบาล บุคลากรสุขภาพ และอาสาสมัครที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมบริการสุขภาพ จำนวน 6 แห่ง ในจังหวัดชลบุรี ตราด และสระแก้วซึ่งได้รับกิจกรรมการพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ กลุ่มที่สองเป็นพยาบาล จำนวน 35 คน และนิสิตพยาบาลชั้นปีที่ 4 จำนวน 31 คน ที่สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้สาระเนื้อหาและกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้ทั้ง 6 แห่ง โดยแต่ละคนจะได้รับการอบรมแนวคิดทั่วไปร่วมกันที่คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และเข้าเรียนรู้ที่ศูนย์เรียนรู้คนละ 2 แห่งแห่งละ 2 วัน รวมคนละ 5 วัน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย(1) กิจกรรมการพัฒนาศูนย์ หนังสือ “7 ชุดการเรียนรู้การพยาบาลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ” คู่มือการเรียนรู้ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพ หลักสูตรการเรียนรู้ของแต่ละศูนย์ คู่มือผู้สอน คู่มือผู้เรียนรู้ และ (2) แบบประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย แบบทดสอบความร้เูกี่ยวกับการใช้ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพ แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับศูนย์เรียนรู้ และแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังสือ “7 ชุดการเรียนรู้ การพยาบาลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ” วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาศูนย์เรียนรู้ทั้ง 6 แห่งโดยการวิเคราะห์ศักยภาพและเนื้อหา การสร้างคุณค่าและให้การยอมรับร่วมกัน การจัดทำหลักสูตรเนื้อหากิจกรรมและกำหนดการ การพัฒนาศักยภาพในการถ่ายทอดเนื้อหาการเตรียมสถานการณ์ การจัดทำสื่อประกอบการเรียนรู้และการติดตามความพร้อม ผลการทดลองใช้หลักสูตรการเรียนรู้ พบว่า หลังการเรียนรู้ผู้ร่วมวิจัยมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 1.68, df = 57, p = .05) มีความคิดเห็นว่า ทุกศูนย์เรียนรู้เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพในระดับมาก และมีความเห็นว่า หนังสือ “7 ชุดการเรียนรู้ การพยาบาลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ” สามารถนำไปบูรณาการและประยุกต์การสร้างเสริมสุขภาพในบริการสุขภาพทุกระดับในระดับมากข้อเสนอแนะจากการวิจัย ควรนำกระบวนการพัฒนานี้ไปใช้พัฒนาศูนย์เรียนรู้ของพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างความเข้มแข็งและคุณภาพการพยาบาลต่อไป This research and development was todevelop nursing learning centers (NLCs) for healthpromoting based on area innovation, and to testthe NLC’s curriculum. There were 2 groups ofparticipants. The first group consisted of nurses,health staff and health care volunteers relatedwith 6 health innovations in Chon Buri, Trat andSa Kaeo provinces, which had developed to beNLC. The second group consisted of 35 nursesand 31 fourth year nursing students whovolunteered to test the NLCs’ curriculum, allparticipants learned general health promotionknowledge and knowledge management (KM)at the Faculty of Nursing, Burapha University, for 1 day after that each participant joined 2 NLCs’curriculum for 2 days of each, total of each participant was 5 days. The research instrumentconsisted of: (1) NLC developmental program,“7 series for nursing health promotion learning”,self - learning manual, and (2) NLC evaluationquestionnaires consisting of knowledge testing,the opinion about NLC and “7 series for nursinghealth promotion learning”. Content analysis,descriptive statistics and dependent t - test wereused for data analysis.Research results showed that thedevelopment process for 6 NLCs analyzed theinnovation potential, values and respect,curriculum building, prepared the staff andsituation, produced learning media, and confirmedall of the training feasibilities. After they joinedthe NLCs’ curriculum, the participants hadsignificantly more knowledge (t = 1.68, df = 57,p = .05). The opinions of the NLCs were the goodmodel for health promotion practice at highlevel, and “7 series for nursing health promotionlearning” applied for all levels of health promotionservice at a high level. The research resultssuggested that this developing process should beused to develop more nursing learning centers forhealth promotion for strengthening and quality ofnursing service.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการพยาบาลth_TH
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพth_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบประสบการณ์th_TH
dc.subjectศูนย์การเรียนth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ทางการพยาบาลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ: กรณีศึกษา พื้นที่ภาคตะวันออกth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume25
dc.year2560
dc.description.abstractalternativeThis research and development was todevelop nursing learning centers (NLCs) for healthpromoting based on area innovation, and to testthe NLC’s curriculum. There were 2 groups ofparticipants. The first group consisted of nurses,health staff and health care volunteers relatedwith 6 health innovations in Chon Buri, Trat andSa Kaeo provinces, which had developed to beNLC. The second group consisted of 35 nursesand 31 fourth year nursing students whovolunteered to test the NLCs’ curriculum, allparticipants learned general health promotionknowledge and knowledge management (KM)at the Faculty of Nursing, Burapha University, for 1 day after that each participant joined 2 NLCs’curriculum for 2 days of each, total of each participant was 5 days. The research instrumentconsisted of: (1) NLC developmental program,“7 series for nursing health promotion learning”,self - learning manual, and (2) NLC evaluationquestionnaires consisting of knowledge testing,the opinion about NLC and “7 series for nursinghealth promotion learning”. Content analysis,descriptive statistics and dependent t - test wereused for data analysis.Research results showed that thedevelopment process for 6 NLCs analyzed theinnovation potential, values and respect,curriculum building, prepared the staff andsituation, produced learning media, and confirmedall of the training feasibilities. After they joinedthe NLCs’ curriculum, the participants hadsignificantly more knowledge (t = 1.68, df = 57,p = .05). The opinions of the NLCs were the goodmodel for health promotion practice at highlevel, and “7 series for nursing health promotionlearning” applied for all levels of health promotionservice at a high level. The research resultssuggested that this developing process should beused to develop more nursing learning centers forhealth promotion for strengthening and quality ofnursing service.en
dc.journalวารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of faculty of nursing Burapha University
dc.page12-24
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
nus25n1p12-24.pdf258.59 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น