กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3409
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อรวรรณ คงเพียรธรรม | |
dc.contributor.author | สมสมัย รัตนกรีฑากุล | |
dc.contributor.author | ชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:23:26Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:23:26Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3409 | |
dc.description.abstract | ภาวะอ้วนลงพุงเป็นปัญหาที่สำคัญด้านสาธารณสุขเพราะผู้ที่มีภาวะอ้วนลงพุงมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ ดังนั้น การควบคุมเส้นรอบเอวให้ปกติสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการกำกับตนเองต่อการออกกำลังกายด้วยห่วงฮูลาฮูป การควบคุมอาหารและเส้นรอบเอวของอาสาสมัครสาธารณสุข ที่มีภาวะอ้วนลงพุง กลุ่มตัวอย่างได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขในอำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี จำนวน 66 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ33 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการกำกับตนเองส่วนกลุ่มควบคุมได้รับความรู้ในการปฏิบัติตนจากพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย โปรแกรมการกำกับตนเอง คู่มือการปฏิบัติการดูแลตนเองด้านการออกกำลังกายด้วยห่วงฮูลาฮูปและการควบคุมอาหารแบบบันทึกกินพิชิตเอวเต้นพิชิตพุง แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามการออกกำลังกาย แบบสอบถามการควบคุมอาหาร และสายวัดรอบเอว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยผลต่างคะแนนการออกกำลังกายด้วยห่วงฮูลาฮูปการควบคุมอาหาร และเส้นรอบเอวมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 26.70, p < .001; t = 10.14, p < .001; t = 6.94, p < .001ตามลำดับ) จากผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการระดับปฐมภูมิ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการปรับพฤติกรรมการออกกำลังกายด้วยห่วงฮูลาฮูป และการควบคุมอาหารเพื่อลดเส้นรอบเอวในผู้ที่มีภาวะอ้วนลงพุงได้ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา | th |
dc.subject | การกำหนดอาหาร | th_TH |
dc.subject | การควบคุมตนเอง | th_TH |
dc.subject | การออกกำลังกาย | th_TH |
dc.subject | อารมณ์ | th_TH |
dc.subject | ฮูลาฮูป | th_TH |
dc.subject | โรคอ้วน | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองต่อการออกกำลังกายด้วยห่วงฮูลาฮูป การควบคุมอาหาร และเส้นรอบเอวของอาสาสมัครสาธารณสุขที่มีภาวะอ้วนลงพุง | th_TH |
dc.title.alternative | Effect of self-regulation program on Hula Hoop exercise, dietary control and waist circumference among central obesity health volunteers | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 4 | |
dc.volume | 24 | |
dc.year | 2559 | |
dc.description.abstractalternative | Central obesity is a major public healthproblem since it is associated with a statisticallyhigher risk of various chronic illnesses. Therefore,maintaining a waist circumference within thenormal range would reduce the risk of diseasesassociated with central obesity. The purpose ofthis research was to examine the effects of aself-regulation program on hula hoop exercise,dietary control, and waist circumference amongcentral obesity health volunteers. A simplerandom sampling method was used to recruit66 central obesity health volunteers who met theinclusion criteria. Then, they were randomly assigned into either the experimental (n = 33) orthe control (n = 33) groups. The experimentalgroup received the self-regulation program onhula hoop exercise and dietary control whereasthe control group received nurses’ routine careservice. The research instruments included ahandbook of a self-regulation program on hulahoop exercise and dietary control, self-recordedform entitled “Eat to achieve the waistlineand workout dance to get rid of the belly fat”,demographic questionnaire, exercise and a dietarycontrol questionnaires and measuring tape. Datawas analyzed using descriptive statistic andindependent t-test.The results revealed that the experimentalgroup had higher mean difference scores of hulahoop exercise, dietary control, and waistcircumference than those of the control group atthe significant level of .05 (t = 26.70 p < .001,t = 10.14 p < .001, t = 6.94 p < .001 respectively).The research findings suggested that staff nursesin primary care settings could apply this programas a guideline for behavior modification via hulahoop exercise and diet control in order to reducetheir waist circumference | en |
dc.journal | วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of faculty of nursing Burapha University | |
dc.page | 77-88. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
nus24n4p77-88.pdf | 249.65 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น