กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/33
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | แววตา ทองระอา | |
dc.contributor.author | สุเมตต์ ปุจฉาการ | |
dc.contributor.author | ฉลวย มุสิกะ | |
dc.contributor.author | พัฒนา ภูลเปี่ยม | |
dc.contributor.author | วันชัย วงสุดาวรรณ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:45:43Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:45:43Z | |
dc.date.issued | 2539 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/33 | |
dc.description.abstract | การสำรวจคุณภาพน้ำในแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลที่สำคัญบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออกในปี 2537 ได้แก่ บริเวณหาดบางแสน หาดพัทยา หาดจอมเทียน อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด และสวนรุกขชาติเพ-แหลมแม่พิมพ์ พบว่าคุณภาพน้ำส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดีตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลเพื่อการว่างน้ำ กล่าวคือตรวจพบปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียรวมไม่เกินกว่า 1,000 เอ็มพีเอ็น ต่อ 100 มิลลิลิตร ยกเว้นหาดพัทยาที่มีสภาพเสื่อมโทรมโดยเฉพาะพัทยาใต้ ซึ่งมีคุณภาพน้ำต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานมาก ทั้งนี้เนื่องจากพัทยาเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก และยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวในระดับนานาชาติของประเทศไทยด้วย จึงทำให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในเมืองพัทยาได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว และก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมตามมา เมื่อเปรียบเทียบผลการสำรวจคุณภาพน้ำในแหล่งท่องเที่ยวทั้ง 5 บริเวณดังกล่าวในปี 2537 กับการสำรวจในปีที่ผ่านๆมา พบว่าคุณภาพน้ำในบริเวณดังกล่าวมีแนวโน้มดีขึ้นกว่าในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ยกเว้นหาดจอมเทียน ซึ่งมีแนวโน้มตรวจพบการปนเปื้อนของเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียรวมสูงขึ้น แต่ก็ยังคงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน จากผลการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออกอย่างรวดเร็ว มีผลทำให้คุณภาพน้ำชายฝั่งในบริเวณแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลมีความสกปรกมากขึ้น ดังนั้นจึงควรที่จะต้องควบคุมและป้องกันการปล่อยน้ำเสียลงสู่ทะเล ตลอดจนควรติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำทะเลบริเวณแหล่งท่องเที่ยวเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้คุณภาพน้ำเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ และเหมาะสมแก่การใช้ประโยชน์เพื่อการว่ายน้ำสืบไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2537 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาเศรษฐกิจ - - แง่สิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.subject | การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.subject | คุณภาพน้ำ - - ไทย (ภาคตะวันออก) | th_TH |
dc.subject | มลพิษทางน้ำ - - ไทย(ภาคตะวันออก) | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.subject | โครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก | th_TH |
dc.title | ผลกระทบของโครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออกที่มีต่อคุณภาพน้ำในแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล | th_TH |
dc.title.alternative | Impact of the eastern seaboard development programme on the water quality of marine recreation areas | th_TH |
dc.type | Research | |
dc.year | 2539 | |
dc.description.abstractalternative | Water quality of the important marine recreation areas along the Eastern Seaboard was investigated in 1994. The investigated areas were as follows : Bangsaen, Pattaya, Jomtien, Laem Ya – Samet National Parks and Suan Ruka Chat Phe – Laem Mae Phim. Based on the coastal water quality standard for swimming which specified that total coliform bacteria should not be more than 1,000 MPN/100 mL, it was found that the water quality of most beaches is still in good condition except at Pattaya, particularly South Pattaya. Pattaya is an important beach resort in the Eastern Seaboard and is Thailand’s principal international beach resort, resulting in the rapid growth of tourism in Pattaya City and creating environmental problems. Comparing the water quality of the marine recreation areas in 1994 with the previous investigations we found that the water quality in these recreation areas tends to be better than the previous investigations (2-3 years ago), except Jomtien Beach where we detect more total coliform bacteria than the previous years, but the numbers are still within the standard. There is the potential threat of increased pollution of coastal waters from rapid growth of the tourism industry of the Eastern Seaboard. Therefore, the beach areas should be controlled and protected from discharged wastewater. In addition, a programme of continuous water quality monitoring of recreation areas must be carried out to ensure that the water quality complies with the standard and suits the beneficial use for swimming | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2539_001.pdf | 2.85 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น