กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3318
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorนฤมล อินทรวิเชียร
dc.contributor.authorแก้ว นวลฉวี
dc.contributor.authorนุชนาฎ บัวศรี
dc.contributor.authorสุพรรณ กาญจนสุธรรม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:19Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:19Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3318
dc.description.abstractการจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินสำหรับการวิเคราะห์อุณหภูมิพื้นผิวจากข้อมูลจากดาวเทียม LANDSAT 8 มีวัตถุประสงค์เพื่อจำแนกการใช้ประโยชนืที่ดินสำหรับวิเคราะห์อุณหภูมิพื้นผิวด้วยข้อมูลจากดาวเทียม LANDSAT 8 ซึ่ง ผู้วิจัยได้ใช้จำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินด้วยเทคนิค Supervised classification และวิเคราะห์อุณหภูมิพื้นผิวของการใช้ประโยชน์ที่ดินแต่ละประเภท โดยผลการวิจัยสามารถจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินด้วยการกำหนดชุดข้อมูลตัวอย่าง (Training set) ให้กับข้อมูลทั้ง 6 ประเภท ดังนี้ นาข้าว นาข้าวมีน้ำขัง พืชไร่ ป่าไม้ สิ่งปลูกสร้าง และแหล่งน้ำ โดยทำการจำแนกแบบ Supervised classification จากนั้น นำข้อมูลที่จำแนกได้มาวิเคราะห์ค่าของอุณหภูมิพื้นผิว โดยผลการวิเคราะห์ข้อมูลอุณหภูมิพื้นผิว พบว่า พื้นที่ที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดคือ พืชไร่ และนาข้าว มีอุณหภูมิเฉลี่ย 29.68 และ 29.53 องศสเซลเซียส ตามลำดับ รองลงมาคือ สิ่งปลูกสร้าง นาข้าวมีน้ำขัง และป่าไม้อุณหภูมิเฉลี่ย 28.95, 27.46,27.44 องศาเซลเซียส ตามลำดับ และพื้นที่ที่มีอุณหภูมิต่ำที่สุดคือ แหล่งน้ำอุณหภูมิเฉลี่ย 25.88 องศาเซลเซียส จากผลการวิจัยสรุปได้ว่า ในพื้นที่เกษตรกรรม เช่น พืชไร่ นาข้าว เป็นต้น มีการสะท้อนของพื้นดินมากกว่าสะท้อนของป่าไม้ และเช่นเดียวกับสิ่งปลูกสร้างที่มีการดูดกลืนและคายความร้อนได้ดี จึงมีอุณหภูมิสูงกว่าการใช้ที่ดินประเภทป่าไม้แหล่งน้ำ เนื่องจากพื้นที่ป่าไม้มีเรือนยอดที่หนาแน่น และแหล่งน้ำ มีความชื้นมากกว่า จึงทำให้พื้นที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า Landuse classification for Analyze of the surface temperature from satellites LANDSAT 8. The purpose to analyze the surface temperature of the landuse from satellites LANDSAT 8. In the process used data from the satellite LANDSAT 8 to classify landuse for 6 classes incude paddy, moist paddy, crops, forest, buildings, and water. By analyzing the temperature found that the area has the highest average temperature are rice crops that have average temperature of 29.68 and 29.53 C respectively, and building, moist paddy, building and forest have average temperature of 28.95, 27.46 and 27.44 C, respectively. And the water is the lowest temperature was 25.88 C. In conclusion, agricultural areas with the reflection of the ground more than the reflection of the leaves. And just as the buildings are absorption heat well, so there is a higher temperature than the forest and water area.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการใช้ที่ดินth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์th_TH
dc.subjectอุณหภูมิโลกth_TH
dc.subjectแลนแซทth_TH
dc.titleการจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินสำหรับวิเคราะห์อุณหภูมิพื้นผิวด้วยข้อมูลจากดาวเทียม LANDSAT 8.th_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume1
dc.year2559
dc.journalวารสารเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of Geoinformation Technology of Burapha University
dc.page60-68
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
gtb1n2p60-68.pdf594.64 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น