กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3316
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorณรงค์ พลีรักษ์
dc.contributor.authorดำรงชัย รอบรู้
dc.contributor.authorสุพรรณ กาญจนธรรม
dc.contributor.authorแก้ว นวลฉวี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:19Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:19Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3316
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำแผนที่ลักษณะทางธรณีของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดจันทบุรี ได้แก่ หาดเจ้าหลาว น้ำตกเขาสอยดาว และถ้ำเขาวง การวิเคราะห์ลักษณะทางธรณีโดยใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) ร่วมกับการสำรวจภาคสนามเพื่อหาสภาพที่ถูกต้อง ได้แก่ ลักษณะหินและดิน และลักษณะทางกายภาพทั่วไป จากนั้นจัดทำแผนที่ธรณีชั้นหินและชุดดินของแหล่งท่องเที่ยว จากผลการวิจัยพบว่า ลักษณะสัณฐานของแหล่งท่องเที่ยวจำแนกเป็นชายฝั่งทะเล น้ำตก และถ้ำ ธรณีชั้นหินแบ่งออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่ หมวดหินเขาวง หมวดหินสระแก้ว หมวดหินโป่งน้ำร้อน หมวดหินแหลมสิงห์ ตะกอนชายหาดและโคลนทะเล ตะกอนตะพักและตะกอนเศษหินเชิงเขา และหินแกรนิตสัณฐานแหล่งท่องเที่ยวบางประเภทอาจมีทั้งตะกอนทรายและหินแกรนิต เช่น น้ำตกเขาสอยดาว ส่วนชุดดินสามารถจำแนกได้เป็น 6 กลุ่ม ได้แก่ ชุดดินหัวหิน ชุดดินระนอง ชุดดินผักกาด ชุดดินคลองซาก & ชุดดินหนองคล้า ชุดดินคลองเต็ง และพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการทำแผนที่th_TH
dc.subjectธรณีวิทยาth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์th_TH
dc.subjectแผนที่th_TH
dc.subjectแผนที่ท่องเที่ยวth_TH
dc.titleการจัดทำแผนที่ลักษณะทางธรณีของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดจันทบุรี โดยใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศth_TH
dc.title.alternativeMapping of geological features of tourist attractions in Chanthaburi province using geoinformation technology
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume1
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was mapping the geological feature of tourist attractions in Chanthaburi province, including Chao Lao beach, Khao Soi Dao waterfall and Khao Wong cave. Geographic Information System (GIS) and field survey were used to analyze the physical feature, rock feature and soil feature. And finally, maps of geology rocks and soil group were created. The results revealed that the landforms of tourist attractions were identified into the coast, the waterfall and the cave. The geology formations were classified into 6 categories namely, Khao Wong formation, Sra Kaew formation, Pong Nam Ron formation, Leam Sing formation, Beach and Barrior Deposits, Terrace and Colluvial Deposits, and Granite rock, The landforms of tourist attractions may have both sand and granite such as i Khao Soi Dao waterfall. Additionally, the soil groups were also identified into 6 series namely, Hua Hin series, Ranong series, Phak Kat series, Khlong Chak series & Nong Khla series, Khlong Teng series, and Slope Complex.en
dc.journalวารสารเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of Geoinformation Technology of Burapha University
dc.page1-13.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
gtb1n2p1-13.pdf1.64 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น