กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3308
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วรรณี เดียวอิศเรศ | |
dc.contributor.author | ชะเอม มีเชาวน์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:23:19Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:23:19Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3308 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้ที่มีต่อการบริหารแรงงานสัมพันธ์และคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในสถานประกอบการนิคมอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง มีวัตถุของการวิจัย ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้ที่มีต่อการบริหารแรงงานสัมพันธ์ของพนักงานในสถานประกอบการที่มีสหภาพแรงงานและไม่มีสหภาพแรงงาน 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบเทียบการรับรู้ที่มีต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในสถานประกอบการที่มีสหภาพแรงงานและไม่มีสหภาพแรงงาน 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ที่มีต่อการบริหารแรงงานสัมพันธ์และคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในสถานประกอบการที่มีสหภาพแรงงานและไม่มีสหภาพแรงงาน ในเขตนิคมอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งของจังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นพนักงานของสถานประกอบการที่มีสหภาพแรงงานและไม่มีสหภาพแรงงานในนิคมอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งของจังหวัดชลบุรี จำนวน 352 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายตามความสะดวกของผู้ตอบแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแจกแจงแบบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและการวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. พนักงานในสถานประกอบการที่มีสหภาพแรงงานและไม่มีสหภาพแรงงานมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานแรงงานสัมพันธ์และคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในสถานประกอบการในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2. พนักงานในสถานประกอบการที่มีสหภาพแรงงานมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานแรงงานสัมพันธ์และคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในสถานประกอบการในภาพรวมแตกต่างกับพนักงานในสถานประกอบการที่ีไม่มีสหภาพแรงงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. การรับรู้ที่มีต่อการบริหารแรงงานสัมพันธ์มีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับสูงกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในสถานประกอบการที่มีสหภาพแรงงานไม่มีสหภาพแรงงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การบริหารแรงงาน | th_TH |
dc.subject | การรับรู้ | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิตการทำงาน | th_TH |
dc.subject | สาขาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | แรงงานสัมพันธ์ | th_TH |
dc.title | การศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้ที่มีต่อการบริหารแรงงานสัมพันธ์และคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในสถานประกอบการนิคมอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง | th_TH |
dc.title.alternative | A comparative study of relations management and quality of work life among employees in an industries estate | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 3 | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | This research study compared perceptions towards management, labor relations and quality of work life of employees in the establishment of an industrial estate. The purpose of this study was to compare the perceptions 1. on the management of labor relations in enterprises with employees, unions and non-union 2 to study the perception of the quality of work life of employees. establishments with union and non-union 3 to study the relationship between the perception of the management, labor relations and quality of work life of employees in establishments with union and non-union. In the field of industrial Chonburi the samples used in this study were employees of establishments with union and non-union in Chonburi Industrial Estate, one of 352 people by simple random sampling at the convenience of the respondents. The statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation. The distribution One-way analysis of variance and correlation analysis of Pearson. The study found that 1. employees in establishment with union and non-union opinions about the administration, labor relations and quality of work life of employees in the workplace in general is moderate. 2. employees in enterprises with trade union opinions about the administration, labor relations and quality of work life of employees in the establishment of the overall difference with the non-union employees in the establishment of statistical significance. level .01 3. awareness on labor management has a high positive correlations with the quality of work life of employees in establishments with union and non-union. Statistically significant at the 0.01 level. | en |
dc.journal | วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา = Burapha journal of business management | |
dc.page | 32-53 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
bsn3n2p32-53.pdf | 379.02 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น