กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/327
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อมรรัตน์ ชมรุ่ง | th |
dc.contributor.author | จารุนันท์ ประทุมยศ | th |
dc.contributor.author | ปิยะวรรณ ศรีวิลาศ | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:47:26Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:47:26Z | |
dc.date.issued | 2546 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/327 | |
dc.description.abstract | ศึกษาการเจริญเติบโตของสาหร่าย Isochrysis galbana พบว่ามีอัตราการเจริญจำเพาะสูงสุดในสูตรอาหารเหลว Guillards “f/2” ที่ปริมาณของธาตุอาหารไนโตรเจน 3000 มิลลิดมล (1.06 ต่อวัน) เมื่อทำการวิเคราะห์คูณค่าทางอาหาร พบว่ามีปริมาณโปรตีนและไขมันสูงสุดที่ระดับไนโตรเจน 1500 มิลลิโมล (41.7 และ 12.3 เปอร์เซ้นต์ของน้ำหนักแห้ง ตามลำดับ) คาร์โบไฮเดรตสูงที่ระดับไนโตรเจน 3000 มิลลิโมล (25.36 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักแห้ง) เถ้าพบปริมาณมากในชุดควบคุมการทดลอง (29.86 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักแห้ง) สาหร่าย Isochrysis galbana มีปริมาณกรดไขมันรวมสูงสุดเมื่อทำการเลี้ยงด้วยธาตูอาหารไนโตรเจน 500 มิลลิดมล(82.10 เปอร์เซ็นต์ของกรดไขมัน) กรดไขมันกลุ่ม PUFA (Polyunsaturated fatty acid) มีปริมาณสูงสุดที่ระดับธาตุอาหารไนโตรเจน 2000 มิลลิโมล คือ 24.06 เปอร์เซ็นต์ของกรดไขมัน กรดไขมันในกลุ่ม n-3 PUFA และ HUFA พบในปริมาณสูงสุดที่ชุดทดลองธาตุอาหารไนโตรเจน 2000 มิลลิโล คือ 3.57 และ 23.85 เปอร์เซ็นต์ของกรดไขมัน ตามลำดับ กรดไขมันกลุ่ม n-3 HUFA พบมากใน Isochrysis galbana ที่เจริญเติบโตในอาหารเหลวที่มาตุอาหารไนโตรเจน 2500 มิลลิโมล (1.52 เปอร์เซ็นต์ของกรดไขมัน) เมื่อทำการวิเคราะห์กรดอมิโนพบว่าสาหร่าย Isochrysis galbana มีปริมาณกรดอมิโนรวมสูงสุดในชุดทดลอง 1500 มิลลิดมล (29.45 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักแห้ง) และพบกรดอมิโนที่จำเป็นสูงสุดในการทดลองที่มีธาตุอาหารไนดตรเจน 2000 มิลลิโมล ผลการวิเคราะห์โรติเฟอร์ (Brachionus rotudiformis) พบว่า โรติเฟอร์ที่เพิ่มคุณค่าทางอาหารด้วยสาหร่าย Isochrysis galbana ซึ่งเจริญเติบโตในอาหารเหลวที่มาตุไนโตรเจน 2500 และ 3000 มิลลิโมล มีปริมาณโปรตีนสูงสุด คือ 65.57 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักแห้ง ไขมันพบในปริมาณสุงที่โรติเฟอร์ในชุดทดลอง 1000 มิลลิโมล คือ 8.66 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักแห้ง คาร์โบไฮเดรตพบสูงสุดในชุด 2500 มิลลิโมล (13.32 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักแห้ง) เยื่อใยในโรติเฟอร์พบมากที่สุดในชุดทดลองที่เป็นชุดควบคุมการทดลอง คือ 1.39 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักแห้ง ส่วนปริมาณของเถ้าพบมากในการทดลอง 2000 มิลลิโมล คือ 16.22 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักแห้ง โรติเฟอร์ที่เพิ่มคุณค่าทางอาหารด้วยสาหร่ายบ Isochrysis galbanaพบว่าปริมาณของกรดไขมันรวมสูงสุดในชุดทดลอง 500 มิลลิโมล (82.31 เปอร์เซ็นต์ของกรดไขมัน) กรดไขมันกลุ่ม n-3 PUFA และ n-3 HUFA มีปริมาณสุงในโรติเฟอร์ที่เพิ่มคุณค่าทางอาหารด้วย Isochrysis galbana ซึ่งเจริญเติบโตในอาหารเหลว Guillards “f/2” ที่มีธาตุอาหารไนโตรเจน 2500 มิลลิโมล (15.11 c]t 15.01 เปอร์เซ็นต์ของกรดไขมัน) กรดอมิโนในดรติเฟอร์พบปริมาณของกรดอมิโนรวมสูงสุดในชุดควบคุมการทดลองคือ 42.94 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักแห้ง และพบกรดอมิโนที่จำเป็นต่อสัตว์น้ำสูงในชุดทดลอง 2000 มิลลิโมล (21.03เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักแห้ง) เมื่อนำโรติเฟอร์ที่เพิ่มคุณค่าทางอาหารด้วยสาหร่าย Isochrysis galbana ซึ่งเจริญเติบโตในอาหารเหลว Guillards “f/2” ที่มีธาตุอาหารไนโตรเจนแตกต่างกันเลี้ยงลูกปลาการ์ตูดำแดง (Amphiprion ephipium) เป็นระยะเวลา 21 วัน ผลการทดลองพบว่าลูกปลามีการเจริญเติบโตทางด้านความยาวมาตรฐานสูงสุดในชุดทดลอง 2000 และ 2500 มิลลิดมล คือ 850 มิลลิเมตร ในทางเดียวกันลูกปลาที่ทำการทดลองมีความยาวยาวรวมสูงสุดในชุดทดลอง 2000 และ2500 มิลลิโมล (1100 มิลลิเมตร) ส่วนการเจริญเติบโตทางด้านน้ำหนักพบสูงวสุดในลูกปลาชุดทดลอง 2000 มิลลิโมล คือ 21.94 กรัม ลูกปลาที่ทำการทดลองมีอัตราการรอดสูงสุดในชุดทดลอง 2500 มิลลิโมล และการพัฒนาของลูกปลาทางด้านการเปลี่ยนแปลงรูปร่างภายนอกพบว่า ลูกปลาการ์ตูนดำแดงในชุดทดลองที่เลี้ยงลูกปลาด้วยโรติเฟอร์ที่เพิ่มคุณค่าทางอาหารด้วย Isochrysis galbana ซึ่งเจริญเติบดตในอาหารเหลวที่มีธาตุอาหารไนโตรเจน 3000 มิลลิโมล มีเปอร์เซ็นต์การขึ้นแถบสีขาวแถบแรกสูงสุด ( 32.88 เปอร์เซ็นต์) The marine microalga Isochrysis galbana was cutured under various nitrogen concentrations : 500, 1000, 1500, 2000, 2500 and 3000 mM N (in order to study the changes in the nutrient composition of the cells produced under such conditions). The results showed that the highest growth rate was found when the microalgae was culture at 3000mM (1.06 day -1),. The highest protein and lipid content were found at 1500 mM nitrogen (41.7 and 12.3% dry weight respectively) while the carbohydrate content was the highest at 3000 mM nitrogen (25.36% dry weightX, ash content was the highest at control (29.86% dry weigh). The highest fatty acid of n-3 PUFA was found at 2000 mM nitrogen (3.57 % fatty acid), n-3 HUFA was found at 2500 mM nitrogen (1.52 % fatty acid) while Isochrysis galbana was cultured at 2000 mM nitrogen (12.92% dry weigh) had the highest content of essential amino acids. Nutritional value of rotifer (Brachionus rotudiformis) enriched with Isochrysis galbana cuture at six nitrogen concentration showed various resalts. It was found that therotifer enriched with 2500 mM N cultured microalgae and 3000 mM N cultured microalgae had the highest content of protein (65.57% dry weight), lopid content was the highest at 1000 mM N (8.66% dry weigh), carbohydrate content was the highest at 2500 mM N (13.32% dry weigh), fiber content was the highest on control (1.39 % dry weigh), ash content was the highest at 2000 mM N (16.22% dry weight). The highest fatty acids of n-3 PUFA and n-3 HUFA were found at 2500 mM N (15.11 and 15.01% fatty acid). It was found that the rotifer enriched with 2000 mM nitrogen cultured microalgae (21.03% dry weigh) had the highest content of essential amino acids. The effct of nitrogen – limited culture microalgae Isochrysis galbana on growth and surreal of anemone fish larvae (Amphiprion ephipium) were investigated. Rotifer was enriched for 10 hours with Isochrysis galbana at various N concentration before feedeing to the larvae and length (standard length and total length) of the experimental fishes were determined at the end of the experiment, It was found that the larvae fed with Isochrysis galbana at the 2000 and 2500mM N had the highest length while the highest weight was found at 2000 mM N , the highest survival rate was found at 2500 nM N. Appearance of white bars on the body of the larvae was observed during the experimental period. At the end of the experimental, the highest appearance of the 1 st white bar was found when the larvae was fed with the macroalgae cultured at 3000 mM N. (32.88%) | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2546-2547 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2546 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ปลาการ์ตูน - - การเลี้ยง | th_TH |
dc.subject | พืชน้ำ | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.subject | สาหร่าย - - การเลี้ยง | th_TH |
dc.subject | สาหร่าย - - วิจัย | th_TH |
dc.title | ผลของปริมาณไนโตรเจนที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงสาหร่าย (Isochrysis galbana) ต่อปริมาณองค์ประกอบทางเคมีของสาหร่ายและอัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดของลูกปลาการ์ตูนวัยอ่อน | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of nitrogen-limited culture microalgae isochrysis galbana on biochemical composition of microalgae, growth and survival of anemonefish larvae | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2546 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น