กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/318
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorขวัญเรือน ศรีนุ้ยth
dc.contributor.authorนิตยา ไชยเนตรth
dc.contributor.authorชุติวรรณ เดชสกุลวัฒนาth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:26Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:26Z
dc.date.issued2550
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/318
dc.description.abstractทำการเก็บรวบรวมและสำรวจชนิดของสาหร่ายทะเลที่เกยตื้น 2 แหล่ง คือ หลังสถาบันวิจัยอาหารสัตว์น้ำชายฝั่ง ตำบลบางพระ อำเภอศรีราชา และชายหาดวอนนภาถึงหาดบางแสน ตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ 2549 ถึง กุมภาพันธ์ 2550 จำนวน 7 ครั้ง พบสาหร่ายทะเล 3 กลุ่ม คือสาหร่ายสีน้ำตาล (brown algae) มี 4 สกุล คือ สาหร่ายเห็ดหูหนู (Padina sp.),สาหร่ายทุ่น (Sagussum sp.), สาหร่ายเฟิร์นเขากวาง (Dictyota sp.), สาหร่ายฝอย (Hypnea sp.) สาหร่ายสีแดง (red algae) มี 3 สกุล 4 ชนิด คือ สาหร่ายวุ้น (gracilaria fisherii), (G. changii), สาหร่ายหนาม (Acanthophora spicifer และ Luarencia sp. และสาหร่ายสีเขียว (Green algae) มี 1 สกุล คือ สาหร่ายไส้ไก่ (Enteromorpha sp.) พบคุณค่าทางโภชนาการของสาหร่ายเฟิร์นเขากวาง (Dictyta sp.) และสาหร่ายหนาม (A. specifera) มีปริมาณโปรตีนเท่ากับ 18.9 และ 7.95% ไขมัน 9.15 และ 2.02 % ตามลำดับ โดยใช้เป็นส่วนผสมอาหารเลี้ยงเพรียงทรายประกอบด้วยอาหาร 3 สูตร สูตรที่ 1 สูตรอาหารกุ้งทั่วไป, สูตรที่ 2 สูตรสาหร่าย Dictyota sp. สูตรที่ 3 สูตรผสมสาหร่าย A. specifera ซึ่งประกอบด้วยปริมาณโปรตีน ร้อยละ 38.44, 38.2 และ 38.9 และปริมาณไขมันร้อยละ 8.10,9.7 และ 5.9 ตามลำดับ หลังการเพาะเลี้ยงเป็นระยะเวลา 3 เดือน Nereis sp. มีอัตราการรอดร้อยละ 41.6, 58.3 และ 41.6 ตามลำดับth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2549 สถาบันวิทยาศาตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2550en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectสาหร่ายทะเลth_TH
dc.subjectอาหารสัตว์th_TH
dc.subjectไส้เดือนทะเล - - การเจริญเติบโตth_TH
dc.subjectไส้เดือนทะเล - - การเลี้ยงth_TH
dc.subjectไส้เดือนทะเล - - อาหารth_TH
dc.titleการพัฒนาการเลี้ยงแม่เพรียงวัยอ่อนด้วยอาหารผสมสาหร่ายทะเลสูตรต่าง ๆth_TH
dc.title.alternativeEffect of formulation of seaweed diets n development of culturing polychaete (Nereis sp.)th_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2550
dc.description.abstractalternativeDuring 7 times of survey period between February 2006 to February 2007, it was that four brow alga; Padina sp., Sagassum sp., Dictyota sp., Hypnea sp., four red alga; Gracilaria fisherii, Acanthophora sp., Gracilaria changii, and Luarencia sp. and one green algae Enteromorpha sp. were found and collected from the Coastal Aquatic Feed Research Institute, Bangpra District, Sriracha and along the Wonnapha to Bangsean Beach, Sean Suk District, Muang Chon Buri. Proximate analysis results showed that the protein contents of Dictyota sp. and Acanthophora sp. were 18.9 and 7.95%, respectively. We created the three seaweed diet formula for culturing of Nereis sp. as 1) the shrimp feed base (control), 2) with dried Dictyota sp. and 3) with dried Acanthophora sp. which the protein contents were 38.44, 38.20 and 38.9%, respectively and total lipid contents were 8.10, 9.7 and 5.9%, respectively. After three monther feeding of Neries sp., the survival rates were 41.6, 58.3 and 41.6%, respectivelyen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น