กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2855
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์ | |
dc.contributor.author | พรพรรณ ศรีโสภา | |
dc.contributor.author | ดวงใจ วัฒนสินธุ์ | |
dc.contributor.author | ศิริวัลห์ วัฒนสินธุ์ | |
dc.contributor.author | ธนวรรณ อาษารัฐ | |
dc.contributor.author | สิริพิมพ์ ชูปาน | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:20:03Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:20:03Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2855 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณาชนิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงทำนายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความชุกของภาวะซึมเศร้า และปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าได้แก่ ความคิดอัตโนมัติทางลบ การครุ่นคิด การแก้ปัยหาทางสังคม และเหตุการณ์ในชีวิติเชิงลบของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 400 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือการวิจัยแบ่งเป็น 6 ส่วนได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น แบบสอบถามความคิดอัตโนมัติทางลบ แบบสอบถามลักษณะความคิดแบบครุ่นคิด และแบบสอบถามเหตุการณ์ในชีวิตเชิงลบวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพมีภาวะซึมเศร้าคิดเป็นร้อยละ 49.00 จำแนกเป็นภาวะซึมเศร้าเล็กน้อยถึงปานกลางร้อยละ 30.75 และภาวะซึมเศร้ารุนแรงร้อยละ 18.25 จากการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน พบว่า ความคิดอัตโนมัติทางลบ การครุ่นคิด การแก้ปัยหาทางสังคม เหตุการณ์ ในชีวิตเชิงลบ การครุ่นคิด การแก้ปัญหาทางสังคม เหตุการณ์ในชีวิตเชิงลบ สามารถร่วมกันทำนายภาวะซึมเศร้าได้ ร้อยละ 49.90 (R2 = .499, F = 98.431, p < .001) โดยตัวแปรที่สามารถทำนายภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพสูงสุด คือ ความคิดอัตโนมัติทางลบ (β = .477, p <.001) รองลงมา ได้แก่ การแก้ปัญหาทางสังคม (β ช -.191, p <.001) การครุ่นคิด (β ช -.154, p <.001) และเหตุการณ์ในชีวิตเชิงลบ (β ช -.110, p <.001) ตามลำดับ โดยสมการทำนายภาวะซึมเศร้าในรูปคะแนนมาตรฐาน คือ Z ภาวะซึมเศร้า =0.477 Zความคิดอัตโนมัติเชิงลบ -0.191Zการแก้ปัยหาทางสังคม+0.154การครุ่นคิด+0.110Zเหตุการณ์ในชีวิตเชิงลบ ผลการศึกษาในครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า ภาวะซึมเศร้าของนักศึกาาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพเป็นประเด็นที่สำคัญและต้องตระหนักถึงเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งผู้บริหารและคณาจารย์ที่เกี่ยวข้องควรจัดให้มีบริการส่งเสริมสุขภาพจิตที่มุ่งเน้นการปรับความคิดอัตโนมัติทางลบการครุ่นคิด เหตุการณ์ชีวิตในทางลบ รวมทั้งส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาทางสังคม | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | ความคิดทางลบ | th_TH |
dc.subject | ความซึมเศร้า | th_TH |
dc.subject | นักศึกษา - - สุขภาพจิต | th_TH |
dc.subject | โรคซึมเศร้า | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors predicting depression among health science students | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 4 | |
dc.volume | 23 | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this predictive correlational study was to investigate the prevalence of depression and its predicting factors including negative automatic thoughts, rumination, social problem solving, and negative lift events among 400 underagraduate health science students studying in years 1 to 4. The stratified random sampling was employed to select the sample. Six research instruments used for data collection were the Student Information Form, Center for Epidemiologic Studies Depression Scale, Automatic Thought Questionnaire, Social Problem Solving Inventory for Adolescents, Ruminative Event Scale. The data were analyzed using descriptive statistics, Pearson's product moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. The study finding revealed that 49 percent of the sample had depression. Among these,30.75 percent had mild to moderate depression and 18.25 percent had severe depression. Stepwise multiple regression analysis demonstrated that negative automatic thoughts, rumination, social problem solving, and negative life events significantly predicted 49.90% of the variance in depression (R2 = .449, F = 98.431, p <.001). The most significant predicting factor were negative automatic thoughts (β = .477, p <.001). followed by social problem solving (β = -.191, p <.001),rumination (β = .154, p <.001), and negative life events (β = .110, p<.001), respectively. The predicting equation of despression by using standard score was Z depression =0.477 Znegative automatic thoughts -0.191Zsocial problem solving+0.154rumination+0.110Znegative life events The results obtained from this study emphasized the concern toward depression among health science students. It is an important issue for academic administrators and those two involved to be awarw of and promote mental health servics aimed at rumination, and negative life events as well as enhancing their social problem solving skills. | en |
dc.journal | วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of faculty of nursing Burapha University | |
dc.page | 31-47. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น