กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2828
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorนารีรัตน์ สังวรวงษ์พนา
dc.contributor.authorรัชนีภรณ์ ทรัพย์กรานนท์
dc.contributor.authorพรทวี พึ่งรัศมี
dc.contributor.authorชมนาด สุ่มเงิน
dc.contributor.authorTomoko Obama
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:56Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:56Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2828
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการมองเห็นสีภาพสัญลักษณ์ของผู้สูงอายุ ภายใต้ความสว่างที่ต่างกัน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ (อายุ 60-81 ปี) จำนวน 50 คน อาศัยอยู่ในชุมชนเขตเทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แผ่นทดสอบ(stimuli) เป็นภาพสัญลักษณ์ ป้ายเตือน “โรงเรียนระวังเด็ก” เป็นภาพผู้ใหญ่จูงมือเด็ก ที่กำหนดในโครงการมาตรฐานความปลอดภัยการจราจรและขนส่ง มีขนาด 27x27 ตารางเซนติเมตร ภาพสัญลักษณ์ที่ใช้มี 2 แบบ คือ ภาพสัญลักษณ์รูปคนสีบนพื้นหลังสีขาวในกรอบสีเดียวกันและแบบที่สองภาพสัญลักษณ์สีขาวบนพื้นหลังสี สีที่ใช้ได้แก่ สีแดง เขียว น้ำเงิน น้ำเงินเขียว ม่วงแดง ส้ม และสีเหลือง สำหรับสีเหลืองใช้ร่วมกับสีดำทั้งหมดจำนวน 14 ภาพ ทำการวิจัยในสถานที่มีแสงสว่างธรรมชาติ ได้แก่ ระดับความสว่างต่ำกว่า 300 ลักซ์ และความสว่างสูงกว่า 3000 ลักซ์ขึ้นไป ในการวิจัยกำหนดให้กลุ่มตัวอย่างสังเกตแผ่นทดสอบในระยะห่าง 10 เมตร วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า ร้อยละ 20 ของผู้สูงอายุสามารถมองเห็นภาพสัญลักษณ์สีขาวบนพื้นหลังสีแดงได้ชัดมากที่สุด ภายใต้ความสว่างต่ำกว่า 300 ลักซ์ และร้อยละ 24 ของผู้สูงอายุสามารถมองเห็นภาพสัญลักษณ์สีขาวบนพื้นหลังสีน้ำเงินเขียวได้ชัดเจนมากที่สุดภายใต้ความสว่างมากกว่า 3000 ลักซ์ ส่วนภาพสัญลักษณ์สีส้มบนพื้นหลังสีขาว พบร้อยละ 56 ภายใต้ความสว่างมากกว่า 3000 ลักซ์ และร้อยละ 26 ภายใต้ความสว่างต่ำกว่า 300 ลักซ์ ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้เป็นประโยชน์ต่อการออกแบบและพัฒนารูปแบบการจัดแสดงป้ายสัญลักษณ์ที่มีความเป็นสากล ง่ายต่อการเข้าใจ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ส่งเสริมการมองเห็นและการดูแลตนเองของผู้สูงอายุth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการรับรู้ทางสายตาth_TH
dc.subjectการเห็นสีth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleความสามารถในการมองเห็นสีของผู้สูงอายุภายใต้ระดับความสว่างที่ต่างกันth_TH
dc.title.alternativeThe color vision of elderly under difference illuminanceen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume23
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine the color vision of elderly for color graphic signs under difference illuminance. The 50 elderly, aged 60-81 years old, were selected from Saensook Community, Chonburi province. The caution school sign consisted of a man and a girl holding hands was used to design as the stimuli pictures. The size of the pictures was 27x27 cm2. The 14 pictures were designed in two styles. One style was color figure on white background in a frame with the same color of figure. Another was white figure on color background including red, green, blue, cyan, magenta orange and yellow colors. The yellow color was designed in combination with black. The experiment was conducted under the ambient light with 2 conditions which were high illuminance (over 3000 lx) and lower illuminance (lower than 300 lx). The distance between stimuli and subjects was 10 meters. Data were analyzed using frequency, mean, percentage, and standard deviation. The results indicated that 20% of the elderly could see the reverse red sign as the most clearly color in lower than 300 lx illuminance, while 24% of the elderly could see the reverse cyan employs as the most clearly color in over 3000 lx illuminance. In addition, the signs with orange figure on white background were the most unclear signs both in lower than 300 lx illuminance and over 3000 lx illuminance (26% and 56% respectively). The results will be useful to design and develop the universal exhibition for the elderly that should be easy to understand, match with environment and promote their color vision and self-careen
dc.journalวารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of faculty of nursing Burapha University.
dc.page13-25.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
13-25.pdf825.88 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น