กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2804
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ลิขิต น้อยจ่ายสิน | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:18:54Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:18:54Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2804 | |
dc.description.abstract | ภัยพิบัติทางธรรมชาติเป็นปัญหาที่สำคัญของมนุษย์ทั่วโลก ประเทศไทยประสบปัญหาภัยพิบัติที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นและบ่อยครั้งขึ้น ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สุขภาพ และความปลอดภัย ภัยพิบัติทางธรรมชาติบางครั้งเป็นเรื่องที่ยากในการเตรียมแผนป้องกัน การนำความรู้ ในหลาย ๆ ด้านมาใช้ในการจัดการปัญหาจึงมีความจาเป็นอย่างมาก เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วย ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) การรับรู้ ระยะไกล (Remote Sensing: RS) และระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นโลก (Global Navigation Satellite System: GNSS) เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการจัดการกับปัญหาภัยพิบัติได้ ในประเทศไทยมีการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อศึกษาภัยพิบัติทางธรรมชาติในด้านต่าง ๆ เช่น แผ่นดินไหว อุทกภัย แผ่นดินถล่ม คลื่นพายุซัดฝั่ง ไฟป่า และภัยแล้ง ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเป็นประโยชน์อย่างมากต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตาม ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศนั้นต้องมีความระมัดระวังในเรื่อง ความถูกต้องของข้อมูล ระยะเวลาของการเก็บข้อมูล และมาตรฐานของข้อมูลเพื่อความน่าเชื่อถือของผลการวิเคราะห์ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | ภัยธรรมชาติ | th_TH |
dc.subject | ภัยพิบัติ | th_TH |
dc.subject | ภูมิสารสนเทศ | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | th_TH |
dc.title | เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อศึกษาภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทย | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 19 | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | Natural disasters are serious problems of human living worldwide. Thailand is experiencing more powerful and more frequent disasters nowadays, resulting in adverse impact on environment, economy, health, and safety. It is sometimes difficult to prepare protection plans to minimize losses generated by the disasters that requires knowledge in many ways. Geoinformation technology, consisting of Geographic Information System (GIS), Remote Sensing (RS) and Global Navigation Satellite System (GNSS), is an effective tool in dealing with the disaster-generated problems. In Thailand, geospatial technologies have been applied for the studies of natural disasters including earthquakes, floods, landslides, storm surge, forest fires and drought. Information from the analysis is very useful to the agencies involved. However, data accuracy, periods of data collection and data standards need to be carefully taken into consideration for reliable information derived from the analysis. | en |
dc.journal | วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal | |
dc.page | 179-188. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ(Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
sci19n2p179-188.pdf | 421.51 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด | |
sci19n2p179-188.pdf | 421.51 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น