กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2756
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorปัณฑ์ภากร สมโรจน์รัตน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:50Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:50Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2756
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษารูปแบบการจัดการที่หลากหลายของชุมชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์มหาอุทกภัยปี 2554 โดยทำการเก็บข้อมูลจากแบบสำรวจจำนวน 400 ชุด ใน 16 อำเภอ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ด้วยการสุ่มตามบริบทของกลุ่มเป้าหมาย อีกทั้งยังทำการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้บริหารของหน่วยงานท้องถิ่น จำนวน 3 หน่วยงาน ได้แก่ เทศบาลเมืองอโยธยา วัดพนัญเชิงวรวิหาร และ เทศบาลตำบลบางปะอิน ซึ่งอยู่ในพื้นที่บริเวณต้นนน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำตามลำดับ เพื่อทำการเปรียบเทียบลักษณะการจัดการของชุมชนต่อปัญหาและการป้องกันน้ำท่วม จากการสำรวจในแต่ละพื้นที่ของชุมชนจะมีปัญหาและอุปสรรคที่แตกต่างกัน โดยจะมีการจัดการ 3 รูปแบบด้วยกัน คือ การจัดการแบบต่างคนต่างทำ สมาชิกภายในชุมชนต่างมีส่วนร่วม และสุดท้ายสมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในขั้นตอนการแสดงความคิดเห็น แต่มอบหมายให้กลุ่มผู้นำเป็นผู้ตัดสินใจตามบทบาทหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายจากการวิจัยครั้งนี้สามารถชี้ให้เห็นได้ว่าการจัดการอุทกภัยในปี 2554 ยังมีจุดบกพร่องที่เราต้องแก้ไขอยู่หลายจุดด้วยกันคือ ประชาชนในพื้นที่ขาดความตระหนักในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร หน่วยงานของรัฐไม่มีความพร้อมเมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์จริง หน่วยงานต่างๆยังมีความสับสนของการประสานงานอยู่ อีกทั้งในการเตรียมข้อมูลเชิงพื้นที่ยังขาดการนำเทคโนโลยีมาเป็นแนวทาง ทั้งนี้ควรเร่งสร้างความเข้าใจในการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนเพิ่มขึ้น เนื่องเหตุการณ์ที่ผ่านมาพบว่าทั้งภาครัฐและภาคเอกชนยังขาดการเรียนรู้และเตรียมพร้อมรับมือกับวิกฤตอย่างเป็นระบบ และควรจัดให้มีการร่วมแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาอุทกภัยในทุกขั้นตอนซึ่งอาจออกมาในรูปของแผนป้องกันในระยะยาวหรือระยะสั้นและการเตรียมความพร้อมในด้านการจัดการกับสภาวะฉุกเฉินทั้ง 3 ขั้นตอน โดยภาครัฐฯควรเป็นผู้สนับสนุนในเรื่องของการจัดการเรื่องการเตรียมความพร้อมและงบประมาณที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดเหตุอุทกภัยในครั้งต่อไปth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectภัยพิบัติth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์th_TH
dc.subjectอุทกภัยth_TH
dc.titleการจัดการภัยพิบัติในรูปแบบที่หลากหลายในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จากเหตุการณ์อุทกภัย ปี 2554th_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume9
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to ascertain the following; To carry out a study of the management of a variety of communities around the province that have been affected by the incident. To collect data regarding the Flood incident of 2554/2012 by carrying out a survey collecting random data in the amount of 400 sets from 16 districts affected. Also conducting in-depth interviews of executives of local government units including 3 agencies; the Ayothaya Town Municipality, Phananchoeng Temple and Bang Pa-In Municipality; which are in the upstream, middle and downstream of the river, respectively. To compare the handling characteristics of the community’s problems and the prevention methods of the flooding. By Surveying in each area of the community to see the different barriers and obstacles each area faced. There are 3 ways to deal with the flood prevention management which are; 1) To prepare a plan for separate agencies to work alone 2)To involve the local community in the planning process 3)And finally community members are involved in the process of commenting which should be assigned to the group leader, according to the decisions based on the various roles assigned. The research of this paper is to point out that the flood management system in 2554/2011. There are still many issues that we need to fix together which are; People in the area affected have a lack of awareness and decent access to information. State agencies are not suitably prepared when faced with the real situation. Agencies also have a confusion and lack of coordination during the incident. Moreover, the preparation of spatial data as a guide lacks the required technology. There should therefore be a focus for the increased understanding and the joint involvement of the private sector, the public sector, and the community together. The recent events showed that both the public and private sectors still lack how to learn and cope with crisis in a systematic way. And therefore should arrange for joint comments and suggestions on how to fix flooding for every possible situation. This could come in the form of long-term or short-term protection plan and preparation of a management plan which includes all three emergency procedures. The government should be the title sponsor of the management plan and prepare the budget necessary to prevent flooding in the futureen
dc.journalวารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review
dc.page59-74.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
mba9n1p59-74.pdf1.4 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น