กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/274
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธิดารัตน์ น้อยรักษา | th |
dc.contributor.author | อนุกูล บูรณประทีปรัตน์ | th |
dc.contributor.author | สุพัตรา ตะเหลบ | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:47:23Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:47:23Z | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/274 | |
dc.description.abstract | การย้ายปลูกสาหร่าย sargassum บริเวณเกาะแรด อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2552 ถึงเดือนธันวาคม 2553 โดยใช้วัสดุ 2 แบบ คือ แบบที่ 1 ท่อคอนกรีตทรงกระบอกเรียงซ้อนกันเป็นทรงสามเหลี่ยม และแบบที่ 2 แผ่นคอนกรีตทรงสามเหลี่ยมหล่อโปร่ง การลงเกราะของสาหร่าย sargassum จะเกิดได้ที่บริเวณใกล้ฝั่ง นอกจากการตรวจวัดกระแสน้ำแสดงให้เห็นว่าความเร็วและทิศทางของกระแสน้ำในบริเวณที่ตรวจวัดโดยเฉพาะจุดวัดบริเวณใกล้ฝั่ง เปลี่ยนไปตามช่วงเวลาต่าง ๆ ในรอบปี เกิดจากอิทธิพลของคลื่นลม และน้ำขึ้นน้ำลง สำหรับจุดวัดบริเวณใกล้ฝั่ง กระแสน้ำบริเวณนี้มีลักษณะปั่นป่วนมากกว่าเกิดจากอิทธิพลของคลื่นซึ่งจะมีความเด่นชัดมากขึ้นในวันน้ำตาย (Neap tide) กระแสน้ำในทั้งสองบริเวณส่วนใหญ่มีกระแสน้ำไหลไปทางทิศใต้ ยกเว้นในช่วงเดือนมิถุนายนที่กระแสน้ำมีทิศทางการไหลขึ้นไปทางทิศเหนือ ปรากฎการณ์นี้อาจมีการเชื่อมโยงจากลมมรสุม ซึ่งจะต้องมีการทำการศึกษาเพื่อพิสูจน์หาสาเหตุที่แท้จริงในเรื่องปัจจัยการควบคุมลักษณะของกระแสน้ำในบริเวณนี้ต่อไป The transplanting of sargassum at Red Island, Sattahip District, Chon Buri Province was studied based on monthly observation form December 2009 to December 2010. There are two types of substrata such as concrete pipes and concrete on blocks that were constructed on a triangle shape. Sargassum plants had attached abundantly on artificial substrata at inshore area. Magnitude and direction of measured currents, especially at offshore station, vary seasonally due to the influences of wave,wind and tide. Effect of wave on random current directions, which is prominent during neap tide period, is observed in the data from inshore area. Current mostly direct to the south except for June that they move to the north. This Phenomenon may relate to monsoonal winds requires further investigation to clarify it. | th_TH |
dc.description.sponsorship | การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินประจำปีงบประมาณ 2553 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.subject | สาหร่าย - - การปลูก | th_TH |
dc.subject | สาหร่าย - - การเจริญเติบโต | th_TH |
dc.title | การย้ายปลูกสาหร่าย Sargassum บริเวณเกาะแรด อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Transplanting of sargassum at Rad Island, Sattahip District, Chon Buri Province | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2554 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น