กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2745
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วสุธร ตันวัฒนกุล | |
dc.contributor.author | นิภา มหารัชพงศ์ | |
dc.contributor.author | สิทธนะ วชิระสิริกุล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:18:49Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:18:49Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2745 | |
dc.description.abstract | การวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่ออัตราความสำเร็จในการปฏิบัติงานตามแนวทางควบคุมวัณโรคแห่งชาติ ของบุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดชลบุรี และวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออัตราความสำเร็จในการปฏิบัติงานควบคุมวัณโรค โดยกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย จำนวน 202 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งประกอบด้วย คุณลักษณะส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับวัณโรค ความพยายามในการทำงาน การสนับสนุนขององค์กร ปัจจัยจูงใจ ปัจจัยคํ้าจุน และการปฏิบัติงานควบคุมวัณโรค การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่า ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า บุคลากรที่ปฏิบัติงานควบคุมวัณโรคส่วนใหญ่มีคะแนนเฉลี่ยความรู้ ความพยายามในการทำงานการได้รับการสนับสนุนจากองค์กร มีแรงจูงใจ และมีการปฏิบัติงาน ควบคุมวัณโรคอยู่ในระดับสูง อัตราความสำเร็จเฉลี่ย ร้อยละ 86.4 โดย ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน การรักษา ความสำเร็จในการทำงาน ความมั่นคงในการปฏิบัติงาน ลักษณะของงาน การยอมรับนับถือ ความพยายามในการทำงาน และความรับผิดชอบ สามารถสร้างสมการทำนายอัตราความสำเร็จในการปฏิบัติงานตามแนวทางควบคุมวัณโรคแห่งชาติ ของบุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดชลบุรี ได้ร้อยละ 97.9 โดยที่ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลในการทำนายอัตราความสำเร็จในการปฏิบัติงานมากที่สุด ดังนั้น การปฏิบัติงานตามแนวทางควบคุมวัณโรคแห่งชาติ จึงควรมีการส่งเสริมระบบการปฏิบัติงานแบบมีพี่เลี้ยงและให้คำปรึกษาจากผู้มีประสบการณ์ และมีระยะเวลาในการทำงานสูง เพื่อเพิ่มอัตราความสำเร็จในการปฏิบัติงานตามแนวทางควบคุมวัณโรคให้มากยิ่งขึ้น | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การทำงาน | th_TH |
dc.subject | การบริหารงานบุคคล | th_TH |
dc.subject | บุคลากรสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออัตราความสำเร็จในการปฏิบัติงานตามแนวทางควบคุมวัณโรคแห่งชาติ ของบุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Factors influencing the success rate of operation under the national guideline for tuberculosis control by public health personnel in tambon health promoting hospital, Chonburi province | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 9 | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this the cross sectional study was to investigate the factors related the operation Tuberculosis Control under the National Guideline for among public health personnel in Tambon Health Promoting Hospital, Chonburi Province and to identify influencing factors the success rate of tuberculosis operation under the National Guideline for Tuberculosis Control. Questionnaires were used to interview 202 staffs. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation and stepwise multiple regression analysis. Study results revealed that health personnel had tuberculosis knowledge, work effort, organizational support, motivation and performance of tuberculosis control at the high level. The success rate of tuberculosis operation under the National Guideline for Tuberculosis Control was 86.4%.The working period, treatment, success at work, security at work, characteristic of work, respect of work, work effort and work responsibility were altogether able to predict the success rate of operation under the National Guideline for Tuberculosis Control at 97.9%. Working period was the most powerful predictive variable for the success rate of operation under the National Guideline for Tuberculosis Control. This study recommends that coaching and mentoring system could increase success rate of operation under the National Guideline for Tuberculosis Control. | en |
dc.journal | วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา = The public health journal of Burapha University. | |
dc.page | 76-84. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
pubh9n2p76-84.pdf | 1.04 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น