กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2730
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศรีรัตน์ ล้อมพงศ์
dc.contributor.authorจิตรพรรณ ภูษาภักดีภพ
dc.contributor.authorภูวสิทธิ์ สิงหภูมิ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:48Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:48Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2730
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลร่วมระหว่างเสียงและการสูบบุหรี่ ที่ส่งผลต่อการสูญเสียการได้ยินของพนักงานในอุตสาหกรรมหลอมโลหะแห่งหนึ่ง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี รูปแบบของการวิจัยเป็นแบบภาคตัดขวาง กลุ่มตัวอย่างคือพนักงานในอุตสาหกรรมหลอมโลหะแห่งหนึ่ง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี จำนวน 437 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัยประกอบไปด้วย แบบสอบถามเครื่องวัดเสียง เครื่องวัดปริมาณเสียงสะสม และเครื่องตรวจสมรรถภาพการได้ยิน สถิติที่ใช้ได้แก่จำนวนร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไค-สแควร์ (chi-square test) และการวิเคราะห์ถดถอยแบบลอจิสติก (multiple logistic regression analysis) ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 27.2 ปี ร้อยละ 51.7 ของกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่สูบบุหรี่ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 66.8 รับสัมผัสเสียงตั้งแต่ 85 dB(A) ขึ้นไป มีเพียงร้อยละ 33.2 ที่รับสัมผัสเสียงน้อยกว่า 85 dB(A) การศึกษาความสัมพันธ์พบว่าการสูบบุหรี่มีความสัมพันธ์กับการสูญเสียการได้ยินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยผู้ที่สูบบุหรี่นั้นจะมีโอกาสสูญเสียการได้ยินมากกว่าผู้ที่ไม่สูบถึง 11.91 เท่าโดยจะมีโอกาสเกิดการสูญเสียการได้ยินเพิ่มขึ้นระหว่าง 7.17-19.78 เท่าที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ผลร่วมของการรับสัมผัสเสียงและการสูบบุหรี่มีความสัมพันธ์กับการ สูญเสียการได้ยินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการรับสัมผัสปัจจัยร่วมนั่นคือรับสัมผัสเสียงตั้งแต่ 85 dB(A) ขึ้นไป และสูบบุหรี่จะส่งผลให้เกิดการสูญเสียการได้ยินเพิ่มขึ้น 7.76 เท่าของพนักงานที่รับสัมผัสเสียงต่ำกว่า 85 dB(A) และไม่สูบบุหรี่โดยจะมีโอกาสเกิดการสูญเสียการได้ยินเพิ่มขึ้นระหว่าง 4.10-14.68 เท่า ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ผลที่ได้จากการวิจัยทำให้ทราบว่าบุหรี่มีความสัมพันธ์กับการสูญเสียการได้ยินในพนักงานอุตสาหกรรมหลอมโลหะ จึงควรมีการประชาสัมพันธ์หรือรณรงค์ให้เลิกสูบบุหรี่th_TH
dc.language.isoength_TH
dc.subjectการสูบบุหรี่th_TH
dc.subjectการได้ยินth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.subjectหูหนวกth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมหลอมโลหะ - - ไทย - - ชลบุรีth_TH
dc.subjectเสียงth_TH
dc.titleผลร่วมระหว่างเสียงและการสูบบุหรี่ที่ส่งผลต่อการสูญเสียการได้ยินของพนักงานในอุตสาหกรรมหลอมโลหะแห่งหนึ่ง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume8
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeThis cross-sectional research was conducted to determine the combined effect of noise exposure and smoking to hearing loss among casting factory workers in Panthong District, Chon Buri Province. The sampling group was 437 persons in total. Research instrument included questionnaire, sound level meter, noise dosimeter and audiometer. All data analysis was done by using quantity, percentage, mean, standard deviation, chi-square test and multiple logistic regression analysis. Research results showed the average of age was 27.2 years old, with 51.7% smoker and 66.8% was exposed to noise from 85 dB(A) and higher. 33.2% was exposed the noise less than 85 dB(A). The chi-square test showed the relation between smoking and hearing loss (p-value < 0.05). The OR for hearing loss among smokers was 11.91 (95% CI 7.17-19.78), whereas the OR for hearing loss among noise exposure and smoking was 7.76 (95% CI 4.10-14.68). The result indicated the relation between smoking and hearing loss among the study population. The authors suggested that smoking cessation should be encouraged.en
dc.journalวารสารสาธารณสุขศาสตร์ = Journal of public health.
dc.page100-108.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
pubh8n2p92-100.pdf543.51 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น