กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/260
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorฉลวย มุสิกะth
dc.contributor.authorวันชัย วงสุดาวรรณth
dc.contributor.authorอาวุธ หมั่นหาผลth
dc.contributor.authorพัฒนา ภูลเปี่ยมth
dc.contributor.authorแววตา ทองระอาth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:22Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:22Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/260
dc.description.abstractการศึกษาคุณภาพน้ำในแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล บริเวณหาดบางแสน หาดพัทยา และหาดจอมเทียน โดยการตรวจสอบวัดคุณภาพน้ำเดือนละ 1 ครั้ง ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2554 -มกราคม พ.ศ.2555 ผลการศึกษาพบว่าคุณภาพน้ำในแต่ละบริเวณมีค่าต่ำสุด-สูงสุดดังนี้ บริเวณหาดบางแสน ออกซิเจนละลาย 3.8 - 8.5 mg/L แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด 27 - 24,000 MPN/100 mL แอมโมเนีย-ไนโตรเจน (รูปที่ไม่มีอิออน) 0.73-18.4 µg/L ไนเตรท-ไนโตรเจน 0.88-264 µg/L และฟอตเฟต-ฟอสฟอรัส <1.5 - 45.8 µg/L บริเวณหาดพัทยาออกซิเจนละลาย 4.2 - 7.2 mg/L แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด 8 - 2,400,000 MPN/100 mL แอมโมเนีย-ไนโตรเจน (รูปไม่มีอิออน) 0.41 - 195 µg/L ไนเตรท-ไนโตรเจน 2.72 - 954 µg/L และฟอตเฟต-ฟอสฟอรัส <1.5 - 207 µg/L บริเวณหาดจอมเทียนาออกซิเจนละลาย 5.1 - 8.7 mg/L แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด 23 - 3000 MPN/100 mL แอมโมเนีย-ไนโตรเจน (รูปไม่มีอิออน) 0.94 - 29.3 µg/L ไนเตรท-ไนโตรเจน 1.52 - 215 µg/L และฟอตเฟต-ฟอสฟอรัส <1.5 - 117µg/L คุณภาพน้ำทั้ง 3 บริเวณมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) โดยบริเวณหาดพัทยาค่อนข้างเสื่อมโทรมกว่าหาดบางแสนและหาดจอมเทียน เนื่องจากพัทยาเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญในจังหวัดชลบุรี และยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวในระดับนานาชาติของประเทศไทยด้วย จึงทำให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในเมืองพัทยาขยายตัวอย่างรวดเร็ว และก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมตามมาth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยโดย สำนักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคุณภาพน้ำทะเลth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectแบคทีเรียth_TH
dc.subjectแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลth_TH
dc.titleคุณภาพน้ำในแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeWaterquality of marine recreation areas in Chon Buri provinceen
dc.typeResearch
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeWater quality of marine recreation areas: Bangsean, Pattaya and Jomtien beaches in Chon Buri Province were investigated mounthly from February 2011 to July 2012. The results showed that water qualities in each beach were in the following ranges: Bangsean beach, DO 3.8 - 8.5 mg/L, total coliform bacteria 27 - 24,000 MPN/100 mL, unionized ammonia-nitrogen 0.41 - 195 g/L, NO3-N 2.72-954 g/L and PO4-P <1.5-207 g/L and Jomtien beach, DO 5.1-8.7 mg/L, total coliform bacteria 23-3,000 MPN/100 mL, unionized ammonia-nitrogen 0.94-29.3 g/L, NO3-N 1.52-215 g/L and PO4-P<1.5 -117 g/L. The water qualities of the three veaches were significantly different (p<0.05) and they were more deteriorated at Pattaya beach than the other beaches due to the water qualities often exceeding the standard standard seawater for recreation. This is because Pattaya is one of the important tourist attraction in Chon Buri and is Thailand's international tourist attraction, resulting in rapid growth of tourism in Pattaya City and leading to environmental problemsen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น