กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2607
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorภาวนา กีรติยุตวงศ์
dc.contributor.authorวัลภา คุณทรงเกียรติ
dc.contributor.authorยุพิน เมืองศิริ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:16:08Z
dc.date.available2019-03-25T09:16:08Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2607
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมความสามารถถการจัดการตนเองของผู้ป่วยเบาหวานต่อค่าน้ำตาลสะสมหลังการทดลองเดือนที่ 3 และเดือนที่ 6 กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการที่คลีนิกเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังจันทร์จำนวน 80 ราย สุ่มตัวอย่างอย่างง่ายเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 40 ราย กลุ่มควบคุมได้รับ การพยาบาลตามปกติ และกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ผู้วิจัยพัฒนาขั่นตามแนวคิดการจัดการตนเองของแคนเฟอร์และเกร์ลิคส์(Kanfer & Gaelick, 1991) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ โปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน คู่มือการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน แบบบันทึกกราฟแสดงแนวโน้มระดับน้ำตาลในเลือด แบบ บันทึกการติดตามตนเองสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานและแบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยโรคเบาหวาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติพรรณนาและการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำสองทาง ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยน้ำตาลสะสมในกลุ่มทดลองหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมความสามารถการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานลดลงมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F1,79=11.73,p<.01) 2. ค่าเฉลี่ยน้ำตาลสะสมของกลุ่มทดลองในระยะก่อนทดทลอง เดือนที่ 3 และเดือนที่ 6 มีอย่างน้อย 1 คู่ ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F2,156=29.62,p<.001) 3. กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความสามารถการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานและช่วงเวลาที่เพิ่มขึ้นมีผลต่อค่าเฉลี่ยน้ำตาลสะสมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทางสถิติ(F2,156-96.05,p<.001) ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมส่งเสริมความสามารถการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีผลต่อค่าน้ำตาลสะสม ดังนั้น พยาบาลควรนำโปรแกรมส่งเสริมความสามารถการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานไปใช้ในการให้บริการผู้ป่วยโรคเบาหวานในคลีนิคต่อไปth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการจัดการตนเอง (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectน้ำตาลในเลือดth_TH
dc.subjectเบาหวาน - - ผู้ป่วยth_TH
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมความสามารถการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานต่อค่าน้ำตาลสะสมth_TH
dc.title.alternativeEffects of competency promoting program for self-management of diabetes mellitus patients on glycosylated hemoglobin A1Cen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume21
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental research aimed to study the effects of a promoting competenncy program for self-management of diabets mellitus patients on glycosylated hemoglobin A C at the third and the sixth month after receiving the program. The samples were eight diabetes mellitus patients receiving treatment at diabetic clinic of the Wangchan Health Promoting Hospital. They were randomly assigned into control and experimental groups which were 40 samples equally. The control group received regular nursing care while the experimental group received the self-management promoting program of diabetes mellitus patients, which as developed by the researcher based on the self-management concept of Kanfer and Gaelick(1991). The instruments were the Self-Management Promoting Program, the Self-Management Handbook of Diabetes Patient, the Individual Graph of Blood Sugar Level Record, the Self-Management Record and the Demographic Data of Diabetes Patient. Data were analyzed by using descriptive statistics and two-way repeated measure analyzed of variance method. The result revealed that 1. After receiving the self-management promoting program diabetes mellitus patients, glycosylated hemoglobin A1 C of the ezperimental group was significantly decreased more than the control group (F2,156=29.62,p<.001) 2. Glycosylated hemoglobin A1C of the experimental group was significantly different (F2,156=29.62,p<.001) at least one pair between before receiving the program, at te third and the sixth month. 3. The experimental group and an increasing of time significantly and differently affected on glycosylated hemoglobin A1C (F2,156=96.05,p<.001) The result of this study indicated that the self-management promoting program of diabetes melitus patients influenced on glycosylated hemoglobin A1C. Therefore, nurses should apply this program for caring diabetic patients in the clinic.en
dc.journalวารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of faculty of nursing Burapha University
dc.page37-51.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p37-51.pdf5.28 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น