กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2434
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชลี ไพบูลย์กิจกุล
dc.contributor.authorเบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล
dc.contributor.authorสุเมตต์ ปุจฉาการ
dc.contributor.authorพิษณุ ยอดไพร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:52Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:52Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2434
dc.description.abstractจุดประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาความหลากหลายของสัตว์หน้าดิน และปริมาณอินทรียวัตถุในบริเวณอ่าวนก จังหวัดจันทบุรี แบ่งสถานีเก็บตัวอย่าง เป็น 6 สถานี ตั้งแต่บริเวณป่าชายเลนถึงปากน้ำแขมหนู การศึกษาครั้งนี้พบว่า สัตว์หน้าดินรวม 26 วงศ์ จากทั้งหมด 4 ไฟลัม ได้แก่ Annelida, Mollusca, Arthropoda และ Echinodermata คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 87.79, 8.50, 3.45 และ 0.26 ตามลำดับ โดยความหนาแน่นทั้งหมดของสัตว์หน้าดินพบว่าสถานีที่ 5 มีความหนาแน่นเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 185.03 ? 146.52 ตัว/ตารางเมตร ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับสถานีอื่น (P < 0.05) สถานีที่ 4 มีค่าดัชนี ความหลากหลายสูงที่สุดเท่ากับ 0.66 ? 0.48 และมีค่าดัชนีความหลากหลายสูงกว่าสถานีที่ 5 และ 6 อย่างมีนัยสำคัญ (P < 0.05) การศึกษาครั้งนี้พบว่าคุณภาพน้ำทะเลบริเวณอ่าวนกจัดอยู่ในเกณฑ์ดีเมื่อเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง ดังนั้นในอนาคตหากมีการประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณอ่าวนกควรมีการติดตามการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำ และดินตะกอนควบคู่กับการศึกษาสัตว์หน้าดินth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectความสมบูรณ์ของดิน -- ไทย -- จันทบุรีth_TH
dc.subjectสัตว์หน้าดิน -- ไทย -- จันทบุรี
dc.titleความหลากหลายของสัตว์หน้าดิน และปริมาณอินทรียวัตถุในดินบริเวณอ่าวนก อำเภอท่าใหม่ จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeDiversity of benthos and total organic matter in Ao nok, amphor Thaimai, Chanthaburi provinceen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue3
dc.volume17
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to studied benthos biodiversity and total organic matter in Ao – Nok, Chanthaburi Province. The study area had been divided into 6 stations from mangrove forest to Kham – Nu Estuary. Four phyla and 26 families of benthos organisms were found as follow: Annelida, Arthropoda, Mollusca, Echinodermata that percentage of benthos were 87.79, 8.50, 3.45 and 0.26, respectively. Station 5 had significantly higher (P < 0.05) density of benthos as 185.03 ? 146.52 individual/ m2 than other stations. Station 4 had the highest diversity index as 0.66 ? 0.48 and significantly greater (P < 0.5) diversity index of benthos than Station 5 and 6. The study reflected that the water quality in Ao Nok Bay were within the Thailand National Water Quality Classification for coastal purposes. Thus in the future environmental monitoring program in Ao Nok Bay should include both water quality and sediment properties as well as the benthic communities.en
dc.journalวารสารวิจัย มข. = KKU Res. J.
dc.page375-384.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น