กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2428
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธนิตย์ อินทรัตน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:52Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:52Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2428
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำแผนที่แบบจำลองคุณภาพอากาศ (Air Quality Index: AQI) ในจังหวัดชลบุรี โดยพิจารณาจากความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีคุณภาพอากาศ กับการกระจายตัวของก๊าซมลพิษในจังหวัดชลบุรี โดยทำการรวบรวมข้อมูล คุณภาพอากาศรายวันของพื้นที่จังหวัดชลบุรี และบริเวณใกล้เคียง ซึ่งได้จากสถานีตรวจวัดอากาศของกรมควบคุมมลพิษ 8 สถานี จาก จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา มาจัดทำค่าเฉลี่ยรายปีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 – 2553 ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดชลบุรี ตัวแปรอิสระที่ใช้ ในการศึกษาประกอบด้วย ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ (CO) ก๊าซโอโซน (O3) และฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) ส่วนตัวแปรตามที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ดัชนีคุณภาพอากาศ จากนั้น นำค่าก๊าซ ที่ได้แต่ละประเภทมาทำการประมาณค่าเฉลี่ย เพื่อแสดงในรูปของแผนที่การกระจายตัวของก๊าซ และนำมาหาความสัมพันธ์โดยใช้การ วิเคราะห์การถดถอยแบบพหุ และแสดงผลในรูปแบบแผนที่ ผลการศึกษาพบว่าดัชนีคุณภาพอากาศในจังหวัดชลบุรีมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานระหว่าง 51-100 แสดงถึงคุณภาพของอากาศ อยู่ในเกณฑ์ที่ดี ไม่ส่งผลกระทบต่อประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีคุณภาพกาศกับมลพิษที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ คือ Y = 11.89 + 0.868(NO2)** + 1.89(CO)* + 0.694(O3)** + 0.464(PM10)** จากสมการแสดงความสัมพันธ์พบว่า ก๊าซคาร์บอน- มอนออกไซด์ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของค่าดัชนีคุณภาพอากาศมากที่สุด รองลงมาเป็น ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซโอโซน และ ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน ตามลำดับth_TH
dc.language.isoength_TH
dc.subjectการวิเคราะห์การถดถอยth_TH
dc.subjectคุณภาพอากาศ - - ชลบุรีth_TH
dc.subjectดัชนีคุณภาพอากาศth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์th_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศเพื่อการประเมินคุณภาพอากาศ: กรณีศึกษา จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeGeoinformatics application on air quality assessment: A case study in Chon Buri provinceen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume16
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to create an air-quality modeling map from a relationship between air-quality index(AQI)and deispersion of pollution in Chon Buri Province. All collected were obtained from 8 air-base stations of Pollution Control Department (PCD) from Chon Buri, Rayong, and Chachoengsao. These data were extracted to create variables using yearly averange data from 2005-2010. The extracted independent variables were Sulfur dioxide(SO2), Nitrogen dioxide(NO2),Carbon monoxide(CO),Ozone(O3),and Particulate Matter smaller than 10 microns(PM10); and dependent variable was Air quality index(AQI). These polluted gas data were interpolated and displayed as map layers. Finally, they were brought in to multiple linear regression analysis to create an air-quality map of Chon Buri Province. The result revealed that Chon Buri Province had air quality in moderate level. The value of air quality index(50-70) in range of 51-100 indicated that the pollution did not have any impact on people in the study area. The relationship between dependent variable and independent variable could be explained by Y = 11.89 + 0.868(NO2)** + 1.89(CO)* + 0.694(O3)** + 0.464(PM10)**From the relationship, CD played an important role in this study. NO2,O3 and PM10 also associated with AQI, respectively.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal.
dc.page32-40.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
32-40.pdf1.67 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น